ReadyPlanet.com
dot dot
bulletHorasaadRevision.com
dot
ห้องโหรแว่นทิพย์
dot
bulletWelcome to foreigners
bulletกำเนิดจักรราศี*
bulletประวัติของวิชาโหราศาสตร์*
bulletวิชาโหราศาสตร์ไทยเบื้องต้น*
bulletกฎเกณฑ์วิชาโหราศาสตร์ไทย*
bulletอันโตนาที*
bulletอายนางศ์*
bulletวิธีคำนวนสมผุสลัคนา*
bulletนัยยะแห่งเรือนราศี*
bulletนัยยะแห่งเรือนชะตา*
bulletนัยยะแห่งดวงดาว*
bulletนัยยะแห่งตำแหน่งดาว*
bulletทิศาพยากรณ์*
bulletโรคาพยากรณ์*
bulletทักษาพยากรณ์*
bullet๑๐๘นวางค์รอบจักรวาล*
bulletวรโคตรนวางค์*
bulletตรียางค์พิษ*
bulletโหรปัตนิและดาวพระศุกร์*
bulletนานาปกรณ์เกี่ยวกับฤกษ์*
bulletเกร็ดโหราศาสตร์*
bulletเคล็ดวิชาต่างๆ*
bulletการทำนายฝันและเคล็ดลับการแก้ฝัน*
bulletพระพุทธรูปบูชาประจำวันเกิด พร้อมคาถาบูชา*
bulletพระคาถาชินบัญชร*
dot
โหราศาสตร์ไทย ฉบับหอมรดกไทย
dot
bulletตำนานดาวพระเคราะห์
bulletการแบ่งจักรราศี
bulletตำรามหาทักษา
bulletคัมภีร์กาลโยค
bulletลัคนากับดวงชะตา
bulletมาตรฐานดาวเคราะห์
dot
หน้าแบบฟอร์มต่างๆของเว็บไซด์
dot
bulletแบบฟอร์มตั้งชื่อ-นามสกุล
bulletแบบฟอร์มฤกษ์พิธีมงคลต่างๆ
bulletแบบฟอร์มฤกษ์คลอดบุตร
bulletแบบฟอร์มฤกษ์มงคลสมรส
bulletแบบฟอร์มฤกษ์เปลี่ยนชื่อ
bulletแบบฟอร์มห้องเรียนโหร
bulletสมุดเยี่ยม
dot
เกร็ดพยากรณ์..เพื่อความบันเทิง
dot
bulletนิสัยสาว 12 ราศี
bulletทายนิสัยจากเดือนเกิด
bulletจุดร้อนตามราศี
bulletความรักตามวันเกิด
bulletทายนิสัยจากการใส่แหวน
bulletผลไม้ทายนิสัย
bulletความรักตามกรุ๊ปเลือด
bulletอ่านใจหนุ่ม 12 ราศี
bulletผู้ชายเพอร์เฟค
bulletน้ำหอมกับราศี
bulletวิธีมัดใจหนุ่ม-สาวราศีต่างๆ
bulletพยากรณ์ ช-ญ ตามวันเกิด
bulletวันเกิดบอกนิสัยเนื้อคู่ ช-ญ
bulletทำนายเซ็กส์กับราศี
bulletความลับบนเตียง 12 ราศี
bulletเคล็ดลับดูไฝบนกายสาว
bulletทำนายผู้เกิดใน 12 นักษัตร
bulletคู่แต่ง คู่รัก คู่ขา?
bulletทายนิสัยคนใกล้ตัว 17 เรื่อง
bulletดวงของผู้หญิงตามวันเกิด
bulletดู ตัวตน,ชอบ,ยี้ หนุ่มสาว
bulletต้นไม้มงคลกับราศีเกิด
dot
เว็บวาไรตี้ยอดนิยม
dot
bulletwww.sanook.com
bulletwww.kapook.com
bulletwww.mthai.com
bulletwww.ragnarog.in.th
bulletwww.hunsa.com
bulletwww.teenee.com
bulletwww.365jukebox.com
bulletwww.dek-d.com
bulletwww.zuzaa.com
bulletwww.wanjai.com
bulletwww.narak.com
bulletwww.jorjae.com
bulletwww.aromdee.com
bulletwww.deedeejang.com
bulletwww.funwhan.com
bulletwww.saranair.com
bulletwww.madoo.com
dot
หนังสือพิมพ์ไทย-เทศ
dot
bulletกรุงเทพธุรกิจ
bulletข่าวสด
bulletคม ชัด ลึก
bulletฐานเศรษฐกิจ
bulletเดลินิวส์
bulletไทยรัฐ
bulletไทยโพสท์
bulletแนวหน้า
bulletประชาชาติธุรกิจ
bulletผู้จัดการ
bulletมติชน
bulletโพสท์ทูเดย์
bulletสยามธุรกิจ
bulletสยามกีฬา
bulletสยามรัฐ
bulletBangkok Post
bulletThe Nation
bulletVoice of America
bulletBBC Thai
dot
Foreign newspaper
dot
bulletNew Straits Time MY
bulletThe Straits Time SG
bulletVientiane Times LAOS
bulletNew Light of Myanmar
bulletThe Daily Tribune PH
bulletThe Manila Times PH
bulletThe Jakarta Post
bulletS. China Morning Post
bulletChina Daily CN
bulletTaipei Times TW
bulletYomiuri Shimbun JP
bulletThe Asahi Shimbun JP
bulletThe times of India
bulletAl Jazeera
bulletThe Guardian UK
bulletThe Times UK
bulletBBC News UK
bulletLe Monde FR
bulletDie Welt DE
bulletLa Nacion Line AR
bulletThe New York Time
bullet USA today
bulletThe Washington Post
bulletThe wall street Journal
bulletOnline Newspaper Di.tory
dot
ธนาคารต่างๆ
dot
bulletธ.กรุงเทพ
bulletธ.กรุงไทย
bulletธ.กรุงไทย ชาริอะฮ์
bulletธ.กรุงศรีอยุธยา
bulletธ.กสิกรไทย
bulletธ.ซิติ้แบงค์
bulletธ.ดีบีเอส ไทยทนุ
bulletธ.ทหารไทย
bulletธ.ธนชาต
bulletธ.นครหลวงไทย
bulletธ.ยูโอบี รัตนสิน
bulletธ.สแตนดาร์ด ช. นครธน
bulletธ.อิสลามแห่งประเทศไทย
bulletธ.เอเซีย
bulletธ.ไทยธนาคาร
bulletธ.ไทยพาณิชย์
bulletพระคาถาชินบัญชร*
bulletพระพุทธรูปบูชาประจำวันเกิด พร้อมคาถาบูชา*


เชิญค่ะ


 ดูหนังสือ สอบถาม
 สั่งซื้อ

eXTReMe Tracker

 ชาติ                                           

นานาทรรศนะ 
เสนอร่างรัฐธรรมนูญ
ปกิณกะ
เหตุการณ์ในอดีต 
เรื่องของไทยในอดีต 
เรื่องของชนชาติไทย
ภูมิศาสตร์ของไทย 
ก่อนสมัยสุโขทัย 
กรุงสุโขทัย
กรุงศรีอยุธยา
กรุงเทพมหานคร
นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่
อุทยานประวัติศาสตร์
เมืองเก่าของไทย
ทำเนียบหัวเมือง
การทหารของไทย
ธงชัยเฉลิมพล
ทหารรักษาพระองค์
ทหารอาสาต่างชาติ 
รู้เรื่องเมืองสยาม 
ประเทศเพื่อนบ้านของไทย()
ความสัมพันธ์ไทย-อเมริกัน 
เหตุการณ์ปี ร.ศ.๑๑๒
เหตุการณ์ปี ๒๔๗๕
กรณีพิพาทอินโดจีน
การรบที่กาะช้าง
สงครามมหาเอเซียบูรพา
สงครามเกาหลี 
สงครามเวียตนาม 
กรณีปราสาทพระวิหาร
กรณีโรฮิงยา
ความไม่สงบชายแดนภาคใต้
อนุสาวรีย์วีรชน 
สารานุกรมฉบับย่อ()
ตัวหนังสือไทย
เรียนหนังสือไทยสมัยก่อน 
รามเกียรติ์ 
ขุนช้าง ขุนแผน
พระอภัยมณี
นิราศ
กาพย์เห่เรือ
สุภาษิตไทย
ธรรมเนียมประเพณีไทย 
โหราศาสตร์ไทย 
เพลงไทยให้สาระ
เงินตราไทย
เครื่องดนตรีไทย
หมากรุกไทย
มวยไทย
สมุนไพรไทย
พันธุ์ไม้ดอกไทย
นกในประเทศไทย
อุทยานแห่งชาติ
 
ทางบก
 ทางทะเล
เที่ยวทั่วไทย 
เที่ยวไปชมไป

 ศาสนา                                     

การบริหารคณะสงฆ์
การศึกษาพระปริยัติธรรม
กฎหมายพระสงฆ์ของไทย
สมเด็จพระสังฆราช
ทำเนียบสมณศักดิ์
พัดยศสมณศักดิ์
คณะสงฆ์จีนนิกาย
คณะสงฆ์อนัมนิกาย
พระพุทธรูปสมัยต่างๆ
พระพุทธรูปสำคัญ
พระพุทธรูปปางต่างๆ
พระพุทธรูปประจำวัน
พระธาตุเจดีย์
พระพุทธบาท
พระแท่น
พระไตรปิฎก
การแสดงธรรมของพระพุทธเจ้า
การบัญญัติพระวินัย
โสพัสปัญหา
พุทธประวัติ
พระอสีติมหาสาวก
พุทธศาสนสุภาษิต
พุทธานุวัตร
วันสำคัญในพระพุทธศาสนา
พุทธศาสนพิธี
พระป่าและวัดป่า
พุทธศาสนาในปัจจุบัน
ภัยแห่งพุทธศาสนา
ศาสนาต่างๆในไทย)

  พระมหากษัตริย์                      

พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัย
พระมหากษัตริย์กรุงศรีอยุธยา
พระมหากษัตริย์สมัยธนบุรี
พระบรมราชจักรีวงศ์
พระชัยวัฒน์ประจำรัชกาล
พระราชลัญจกร
เครื่องราชกกุธภัณฑ์
ธงในองค์พระมหากษัตริย์
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก
น้ำอภิเษก
พระราชพิธีสิบสองเดือน
พระราชานุกิจ
จอมทัพไทย
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
เหรียญอันเนื่องจากการรบ
พระบรมมหาราชวัง
ประชุมพงศาวดาร
ราชการสงครามฯ
งานกู้ชาติฯ
ประชุมพระราชปุจฉา
พระราชหัตถเลขา ใน ร.๔
พระบรมราโชบายฯ ร.๕
พระราชดำรัส ใน ร.๕
พระราชนิพนธ์ ใน ร.๖
ร.๖ กับการป้องกันประเทศ
พระราชดำริใน ร.๗
พระบรมราโชวาท

 มุมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทย์และเทคโน
ศูนย์เทคโนอีเลคทรอนิกส์และคอมแห่งชาติ
เว็บการเรียนรู้วิทย์และเทคโนร.ร.ในชนบท
ดาราศาสตร์สำหรับคนไทย
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีแห่งชาติ
แหล่งความรู้วิศวโยธา,เครื่องกลและขนส่ง
โครงการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ[lesa]
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนแห่งไทย
องค์การพิพธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
ดูดาวดอทคอม
รวมบทความด้านวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
นิยายวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์น่ารู้

 

 มุมศาสนาต่างๆ                      

สำนักข่าวชาวพุทธ
มุสลิมไทยไซเบอร์เน็ต
หนังสือธรรมะออนไลน์
ธรรมะไทย
มุสลิมแคมปัสดอทคอม
โบสถ์คริสเตียนไทยอเมริกา
กัลยาณมิตร
เสขิยธรรม
มหาวิทยาลัยสงฆ์ไทย
อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ
หลวงตามหาบัว
พุทธทาสศึกษา
พระรัตนตรัย
เครือข่ายสาระธรรมอิสลาม
มูลนิธิศุภนิมิตไทย
พระคริสตธรรมไทย

 10 อันดับเว็บข้อมูล อ้างอิง        

 www.google.co.th สุดยอดเว็บในการหาข้อมูล
 
www.glo.or.th สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล
 
www.siamguru.com บริการค้นหาข้อมูลต่างๆ
 
www.truehits.net เว็บแสดงสถิติการเยี่ยมชม
 
lexitron.nectec.or.th ดิกชันนารีออนไลน์
 
www.yellowpages.co.th สมุดหน้าเหลืองออนไลน์
 
www.police.go.th สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
 
phonebook.tot.or.th ค้นหาหมายเลขโทรศัพท์
 
www.trainingthai.com ข่าว,ข้อมูลการฝึกอบรมสัมมนาต่างๆ
 
www.khonthai.com แหล่งข้อมูลด้านทะเบียนราษฎร์ต่างๆ



ราศีไทย กับ ราศีฝรั่ง article

Welcome to
ห้องโหรแว่นทิพย์
ศาสตร์แห่งปัญญาเพื่อชีวิตที่ดีกว่า

เนื่องจากมีความสับสนระหว่างการกำหนดว่า ราศีที่มีความเหลื่อมล้ำกันระหว่างราศีไทย และราศีฝรั่ง เลยขอมองจากด้านดาราศาสตร์เป็นเกณฑ์ เพราะแท้จริงแล้ว ที่มาของสองระบบนี้ ก็คือตำแหน่งดาวบนท้องฟ้า อันเป็นที่มาของวิชาดาราศาสตร์นั่นเอง ขออภัยที่ต้องเขียนคำสันสกฤตด้วยภาษาอังกฤษ ที่ใส่สันสกฤตลงไปด้วยก็มั่วเอาเป็นหลักค่ะ ขออภัยถ้าหากผิดไปนะคะ

ราศีไทย ได้มาจากตำราพระเวทย์(Veda)ของฮินดู ซึ่งนับอายุย้อนหลังไปได้ 5-6000 ปี โดยชาว ภารตะ ได้รู้จักเอาตำแหน่งของดวงจันทร์มากำหนดวันเวลา จากตำแหน่งของดวงจันทร์ที่เคลื่อนผ่าน กลุ่มดาว ในแต่ละคืน เป็นแต่ละนักษัตร จากการที่ ดวงจันทร์ โคจรรอบโลก(และรอบตัวเอง) ไปตามเส้นรอบวงโคจรครบ 1 รอบ(sidereal month) ในเวลา 27.32144 วัน(solar day) เดือนทางนักษัตรที่กำหนดให้มี 27 วันเต็มๆ จึงขาดไป 1/3 วัน ทำให้ต้องมีการชดเชยในภายหลัง

จากภาพจะเห็นว่า หากเอาวันพระจันทร์เต็มดวง ที่เรามองเห็นจากโลกเป็นหลัก (ภาพ a) เมื่อดวงจันทร์เดินทางไปครบเส้นรอบวงรอบโลกได้ 1 รอบ (ภาพ b) ที่เรียกว่า sidereal month นั้น จะใช้เวลา 27.32144 วัน แต่ถึงตอนนั้นแล้ว โลกก็เดินทางเคลื่อนออกไปจากจุดที่เรานับเริ่มแรก เพราะโลกเองก็โคจรรอบดวงอาทิตย์ คนบนโลกก็จะเห็นว่า พระจันทร์ยังไม่เต็มดวง คือตำแหน่งของดวงจันทร์ โลก และ ดวงอาทิตย์ ไม่ได้เรียงอยู่บนเส้นตรงแล้ว ดวงจันทร์ต้องเดินทางต่อไปอีกหน่อย ให้มากกว่าเส้นรอบวงรอบโลก 1 รอบ จึงจะตามโลกได้ทันให้คนบนโลกเห็นว่า ดวงจันทร์เต็มดวงอีกที จึงต้องใช้เวลาเพิ่มขึ้น เดือนๆหนึ่งทางจันทรคติ ตามสายตาชาวโลก จึงใช้เวลา 29.53059 วัน (ภาพ c) เรียกว่า synodic month

(ภาพจาก Universe: Origins & Evolutions โดย Ted Snow and Kenneth Brownsberger)
 
และมีการกำหนดให้แต่ละเดือนนักษัตร มี 30 วัน ด้วยการแบ่งดวงจันทร์เป็นเสี้ยวส่วน เวลา 1วัน ทางนักษัตร ที่เรียกว่า Thiti จะมีเวลาสั้นกว่า เวลาที่นับด้วยดวงอาทิตย์เป็นหลัก(solar day) และกำหนด 15 thiti ก่อนวันเพ็ญเป็น Shukla paksha(ศุขลปักษ์?) และ 15 วันหลังเป็น Krishna paksha(กฤษณปักษ์?)

ปฤิทินนักษัตรใช้กันในอินเดียโบราณ เดือนทางจันทรคติ เรียกตามกลุ่มดาวที่ดวงจันทร์วันเพ็ญโคจรไปพบ คือ Chitra, Vishakha, Jyeshta, Ashaada, Sharavna, Bhadrapda, Ashwija, Kaartika, Margashira, Pushya, Maagha, Phalguna. (จิตรา วิสาขา เชษฐา อัษฎา ศรวณา พัตราภา อัศวิชา การติกา มฤคศิรา ปุษยา มาฆะ ผลคุณี ?) ดังนี้ นับเป็นระบบ ภารติยนักษัตร แต่เดิม นักษัตรเหล่านี้ อาจเป็นดาวเดี่ยวๆดวงเดียว
จากการเอาคนบนโลกเป็นจุดอ้างอิง ก็ดูเหมือนดาวเคลื่อนไปบนท้องฟ้า หาใช่โลกหมุนไปไม่
คนโบราณเชื่อว่ามีโดมลูกกลมๆครอบเหนือหัวเรา และดาวทั้งหลายก็ติดอยู่บนโดมที่เคลื่อนไปรอบๆ เรียกว่า Celestial Sphere เป็นดังภาพข้างล่าง โดยระนาบศูนย์สูตรของ celestial sphere นี้คือ ระนาบศูนย์สูตรของโลก และ จุดเหนือหัว (zenith) ของโดมสมมตินี้ ก็คือขั้วโลกเหนือนั่นเอง

 

แต่เรารู้กันแล้วว่า โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ แต่แกนหมุนของโลก เอียงทำมุม 23.5 องศา กับ ระนาบวงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ ที่เรียกว่า Ecliptic Plane

 
ดังนั้น ระนาบวงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ ก็ทำมุม 23.5 องศากับระนาบศูนย์สูตรของโลก หรือ celestial plane ไปด้วย ตามสายตาของคนที่ยืนบนโลก จะดูเหมือนดวงอาทิตย์และดวงจันทร์(รวมทั้งดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ) โคจรข้ามท้องฟ้า ในแถบทางเดินเดียวกัน เรียกว่า Ecliptic

ในภาพ พื้นสีฟ้าคือระนาบศูนย์สูตร ที่เป็น celestial equator ด้วย ทำมุม 23.5 องศากับ ecliptic plane คือพื้นสีเหลือง (ขออภัยที่ต้องย่อรูปจนอ่านตัวหนังสือไม่ออก ไม่งั้นแปะไม่ติดค่ะ)

เมื่อมองจากโลก ดวงจันทร์ และดาวเคราะห์ จะโคจรบนฟ้าไปตามแนว Ecliptic แต่ละคืนที่ผ่านไป เนื่องจากตำแหน่งของโลก(และดวงจันทร์ที่ตามโลกไปด้วย) จะหันออกสู่จักรวาลในทิศที่ต่างๆกันไป ทำให้ดูเหมือนว่า ดวงจันทร์ไปพ้องกับดาวที่ต่างกันไปทุกคืน คนอินเดียโบราณ จึงผูกเป็นตำนานว่า พระจันทร์ไปเยี่ยมชายาคืนละองค์ ณ ตำหนักต่างๆกันทุกคืน คือกลุ่มดาว นักษัตร เหล่านี้ ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันไปคืนละคน จนครบรอบ 27 องค์นักษัตร กลุ่มดาวที่มีตำแหน่งพ้องกับระนาบ ecliptic จึงกลายมาเป็นนักษัตรทางจันทรคติไป



แต่อารยธรรมตะวันตก ที่ถือกำเนิดมาในดินแดน เมโสโปเตเมีย ได้ใช้ดวงอาทิตย์เป็นตัวกำหนดวันเวลา โดยเริ่มจากชาว Chaldean และ Akkadian (ในอิรัค และอียิปต์ปัจจุบัน) มีหลักฐานปรากฏ ว่าในครั้งแรกที่ได้ได้เริ่มใช้จักรราศีตามตำแหน่งของกลุ่มดาวที่พ้องกับ ตำแหน่งของ ดวงอาทิตย์ เป็นหลักนั้น เป็นเวลาที่นับย้อนไปในปี 1800 ก่อนคริสตกาล การใช้ปฏิทินที่มีดวงอาทิตย์เป็นตัวชี้ จึงมีความแม่นยำกว่า ปฏิทินทางจันทรคติมาก เพราะปีทางสุริยคติ ใกล้เคียงกับ เวลาที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์มากกว่า จึงทำให้ทำนายฤดูกาลได้แม่นยำกว่า อันส่งผลให้ ปลูกพืชผลได้ผลดีกว่า

กลุ่มดาวที่พ้องกับตำแหน่งของดวงอาทิตย์ 12 กลุ่ม จึงเรียกว่าเป็น จักรราศี(Zodiacs) ส่วนกลุ่มดาวอื่นๆ ที่อยู่เหนือและใต้ ecliptic plane ออกไป ก็ไม่ได้นักเป็น จักรราศี เพียงเรียกเป็นกลุ่มดาว(Constellations)เท่านั้น (ซึ่งขอเว้นไว้ไม่กล่าวในที่นี้นะคะ)

เมื่ออินเดียได้รับอิทธิพลอารยธรรมตะวันตกที่เข้ามาภายหลังจากที่ พระเวทย์ ได้ถูกกำหนดลงไปอย่างแน่นอนแล้ว นักประวัติศาสตร์เชื่อว่า พราหมณ์อินเดียได้ผสมผสาน ตำราทางจักรราศีทางตะวันตก เข้ากับ ระบบนักษัตรของพระเวทย์เก่า มาเป็น Jyotishya Shaastra (ชโยทิศยศาสตรา ?) ในราว 400 ปีก่อนคริสตกาล และรับเอา จักรราศี มาใช้ แต่ความที่ เดือนทางจันทรคติ เหลื่อมกันกับ เดือนทางสุริยคติ การนับราศี โดยเอาปฏิทินจันทรคติเป็นเกณฑ์ จึงทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำกันไปด้วย เพราะต้องเอา 27 นักษัตร มาแปลงลงให้เข้ากับ 12 จักรราศี ด้วยการแบ่งนักษัตรเป็น 1/4 โดยให้ 9/4 นักษัตร เท่ากับ 1 ราศี ( = 2.25 นักษัตร)

ตำแหน่งของกลุ่มดาวที่เห็นได้บนท้องฟ้า ก็ยังมีความสูงต่ำจากขอบฟ้าต่างไป ตามแต่ว่า ผู้สังเกตการณ์จะอยู่ที่ไหนบนโลก

 
แต่ต้องใช้เวลานานเป็นพันๆปี จึงจะสังเกตการเปลี่ยนแปลงนี้ออก เนื่องจากระบบนักษัตรนี้มีอายุห้าหกพันปีแล้ว ตำแหน่งของดาวนักษัตรจึงเปลี่ยนไปบ้าง คนรุ่นหลังที่พยายามควานหาว่าดาวดวงไหน อยู่นักษัตรอะไรเมื่อเทียบกับตำแหน่งดาวสมัยใหม่ จึงได้แต่อาศัยตำราพระเวทย์มาเทียบให้ใกล้เคียงที่สุดกับตำแหน่งดาวปัจจุบันที่เปลี่ยนไปแล้ว จึงจำต้องอนุโลมว่า ตำแหน่งนักษัตรเหล่านี้ มีเฉออกไปบ้างจากแนว ecliptic ไป 5 องศา จากตัวอย่างภาพข้างล่าง โดย S. Balakrishna, Ph.D. แสดง 3 นักษัตร คือ กฤติกา โรหินี และ มฤคศิร ซึ่งพ้องกับกลุ่มดาววัว Taurus ซึ่งมีเขาสองข้างที่ El Nath และ Zeta Tauri พ้องกับ มฤคศิรนักษัตร และ หน้าวัวคือกลุ่ม Hades ไปพ้องกับ โรหินี และ กระจุกไพลอาดีส(หรือ ดาวลูกไก่) บนไหล่วัว ไปพ้องกับ นักษัตร กฤติกา เป็นต้น

 
อ้่างอิง
S. Balakrishna, Ph.D, "Names of Stars from the Period of Vedas",
http://www.geocities.com/vijayabalak/stars/nakshathra.html
Nick Strobel, "Astronomy Without a Telescope",
http://astronomynotes.com/nakedeye/nakedeya.htm
Eirik L. Harris, "Astronomy of Vedic India", http://arcturus.pomona.edu/india/as-india.html
Porter Wiseman, "The Context of Vedic India"
http://arcturus.pomona.edu/india/as-india.html

และคำสันสกฤตสำหรับ นักษัตร ที่ใช้บางส่วน มาจากที่คุณ วีณาแกว่งไกวไปตั้งกระทู้ไว้ที่ห้องมองอดีตที่กระทู้
http://pantip.inet.co.th/cafe/klaibann/topic/H860645.html ค่ะ ขอขอบคุณคุณวีณาฯด้วยนะคะ

โดยคุณ พวงร้อย จากเว็บวิชาการ.คอม




โหราคอนเนอร์

Life is like a chocolate box, article
ปีนักษัตร-คู่สมพงศ์ article
นักดาราศาสตร์ลงมติถอด"พลูโต"ออกจากสถานภาพ"ดาวเคราะห์" article
ความสัมพันธ์ดาวในจักรวาลกับมนุษย์ article
สถาบันโหราศาสตร์เพื่อชีวิตแห่งประเทศไทย article
สิ่งดีๆที่ควรแบ่งปัน..สำหรับคนชอบดูดวงสมัยใหม่ article
ห้องหนังสือแว่นทิพย์ [ร้านหนังสือมือสองออนไลน์ ] article
วิถีบุญ วิถีกรรม: สะเดาะเคราะห์เสริมบุญบารมีได้จริงหรือ ? article
มาตรฐานดาวเคราะห์ article
ลัคนากับดวงชะตา article
คัมภีร์กาลโยค article
ตำรามหาทักษา article
การแบ่งจักรราศีตามแบบโหราศาสตร์ article
วิชาโหราศาสตร์ไทย ฉบับหอมรดกไทย article
วิธีแก้กรรมด้วยตนเอง article
วิชาโหรยึดเป็นอาชีพได้หรือไม่? article
ความแตกต่างระหว่างหมอดูกับโหร article
อธิกมาส อธิกวาร อธิกสุรทิน article
"บัญญัติ10ประการ" !!! เกราะป้องกันภัยบนอินเตอร์เนต article



Copyright © 2010 All Rights Reserved.