ReadyPlanet.com
dot dot
bulletHorasaadRevision.com
dot
ห้องโหรแว่นทิพย์
dot
bulletWelcome to foreigners
bulletกำเนิดจักรราศี*
bulletประวัติของวิชาโหราศาสตร์*
bulletวิชาโหราศาสตร์ไทยเบื้องต้น*
bulletกฎเกณฑ์วิชาโหราศาสตร์ไทย*
bulletอันโตนาที*
bulletอายนางศ์*
bulletวิธีคำนวนสมผุสลัคนา*
bulletนัยยะแห่งเรือนราศี*
bulletนัยยะแห่งเรือนชะตา*
bulletนัยยะแห่งดวงดาว*
bulletนัยยะแห่งตำแหน่งดาว*
bulletทิศาพยากรณ์*
bulletโรคาพยากรณ์*
bulletทักษาพยากรณ์*
bullet๑๐๘นวางค์รอบจักรวาล*
bulletวรโคตรนวางค์*
bulletตรียางค์พิษ*
bulletโหรปัตนิและดาวพระศุกร์*
bulletนานาปกรณ์เกี่ยวกับฤกษ์*
bulletเกร็ดโหราศาสตร์*
bulletเคล็ดวิชาต่างๆ*
bulletการทำนายฝันและเคล็ดลับการแก้ฝัน*
bulletพระพุทธรูปบูชาประจำวันเกิด พร้อมคาถาบูชา*
bulletพระคาถาชินบัญชร*
dot
โหราศาสตร์ไทย ฉบับหอมรดกไทย
dot
bulletตำนานดาวพระเคราะห์
bulletการแบ่งจักรราศี
bulletตำรามหาทักษา
bulletคัมภีร์กาลโยค
bulletลัคนากับดวงชะตา
bulletมาตรฐานดาวเคราะห์
dot
หน้าแบบฟอร์มต่างๆของเว็บไซด์
dot
bulletแบบฟอร์มตั้งชื่อ-นามสกุล
bulletแบบฟอร์มฤกษ์พิธีมงคลต่างๆ
bulletแบบฟอร์มฤกษ์คลอดบุตร
bulletแบบฟอร์มฤกษ์มงคลสมรส
bulletแบบฟอร์มฤกษ์เปลี่ยนชื่อ
bulletแบบฟอร์มห้องเรียนโหร
bulletสมุดเยี่ยม
dot
เกร็ดพยากรณ์..เพื่อความบันเทิง
dot
bulletนิสัยสาว 12 ราศี
bulletทายนิสัยจากเดือนเกิด
bulletจุดร้อนตามราศี
bulletความรักตามวันเกิด
bulletทายนิสัยจากการใส่แหวน
bulletผลไม้ทายนิสัย
bulletความรักตามกรุ๊ปเลือด
bulletอ่านใจหนุ่ม 12 ราศี
bulletผู้ชายเพอร์เฟค
bulletน้ำหอมกับราศี
bulletวิธีมัดใจหนุ่ม-สาวราศีต่างๆ
bulletพยากรณ์ ช-ญ ตามวันเกิด
bulletวันเกิดบอกนิสัยเนื้อคู่ ช-ญ
bulletทำนายเซ็กส์กับราศี
bulletความลับบนเตียง 12 ราศี
bulletเคล็ดลับดูไฝบนกายสาว
bulletทำนายผู้เกิดใน 12 นักษัตร
bulletคู่แต่ง คู่รัก คู่ขา?
bulletทายนิสัยคนใกล้ตัว 17 เรื่อง
bulletดวงของผู้หญิงตามวันเกิด
bulletดู ตัวตน,ชอบ,ยี้ หนุ่มสาว
bulletต้นไม้มงคลกับราศีเกิด
dot
เว็บวาไรตี้ยอดนิยม
dot
bulletwww.sanook.com
bulletwww.kapook.com
bulletwww.mthai.com
bulletwww.ragnarog.in.th
bulletwww.hunsa.com
bulletwww.teenee.com
bulletwww.365jukebox.com
bulletwww.dek-d.com
bulletwww.zuzaa.com
bulletwww.wanjai.com
bulletwww.narak.com
bulletwww.jorjae.com
bulletwww.aromdee.com
bulletwww.deedeejang.com
bulletwww.funwhan.com
bulletwww.saranair.com
bulletwww.madoo.com
dot
หนังสือพิมพ์ไทย-เทศ
dot
bulletกรุงเทพธุรกิจ
bulletข่าวสด
bulletคม ชัด ลึก
bulletฐานเศรษฐกิจ
bulletเดลินิวส์
bulletไทยรัฐ
bulletไทยโพสท์
bulletแนวหน้า
bulletประชาชาติธุรกิจ
bulletผู้จัดการ
bulletมติชน
bulletโพสท์ทูเดย์
bulletสยามธุรกิจ
bulletสยามกีฬา
bulletสยามรัฐ
bulletBangkok Post
bulletThe Nation
bulletVoice of America
bulletBBC Thai
dot
Foreign newspaper
dot
bulletNew Straits Time MY
bulletThe Straits Time SG
bulletVientiane Times LAOS
bulletNew Light of Myanmar
bulletThe Daily Tribune PH
bulletThe Manila Times PH
bulletThe Jakarta Post
bulletS. China Morning Post
bulletChina Daily CN
bulletTaipei Times TW
bulletYomiuri Shimbun JP
bulletThe Asahi Shimbun JP
bulletThe times of India
bulletAl Jazeera
bulletThe Guardian UK
bulletThe Times UK
bulletBBC News UK
bulletLe Monde FR
bulletDie Welt DE
bulletLa Nacion Line AR
bulletThe New York Time
bullet USA today
bulletThe Washington Post
bulletThe wall street Journal
bulletOnline Newspaper Di.tory
dot
ธนาคารต่างๆ
dot
bulletธ.กรุงเทพ
bulletธ.กรุงไทย
bulletธ.กรุงไทย ชาริอะฮ์
bulletธ.กรุงศรีอยุธยา
bulletธ.กสิกรไทย
bulletธ.ซิติ้แบงค์
bulletธ.ดีบีเอส ไทยทนุ
bulletธ.ทหารไทย
bulletธ.ธนชาต
bulletธ.นครหลวงไทย
bulletธ.ยูโอบี รัตนสิน
bulletธ.สแตนดาร์ด ช. นครธน
bulletธ.อิสลามแห่งประเทศไทย
bulletธ.เอเซีย
bulletธ.ไทยธนาคาร
bulletธ.ไทยพาณิชย์
bulletพระคาถาชินบัญชร*
bulletพระพุทธรูปบูชาประจำวันเกิด พร้อมคาถาบูชา*


เชิญค่ะ


 ดูหนังสือ สอบถาม
 สั่งซื้อ

eXTReMe Tracker

 ชาติ                                           

นานาทรรศนะ 
เสนอร่างรัฐธรรมนูญ
ปกิณกะ
เหตุการณ์ในอดีต 
เรื่องของไทยในอดีต 
เรื่องของชนชาติไทย
ภูมิศาสตร์ของไทย 
ก่อนสมัยสุโขทัย 
กรุงสุโขทัย
กรุงศรีอยุธยา
กรุงเทพมหานคร
นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่
อุทยานประวัติศาสตร์
เมืองเก่าของไทย
ทำเนียบหัวเมือง
การทหารของไทย
ธงชัยเฉลิมพล
ทหารรักษาพระองค์
ทหารอาสาต่างชาติ 
รู้เรื่องเมืองสยาม 
ประเทศเพื่อนบ้านของไทย()
ความสัมพันธ์ไทย-อเมริกัน 
เหตุการณ์ปี ร.ศ.๑๑๒
เหตุการณ์ปี ๒๔๗๕
กรณีพิพาทอินโดจีน
การรบที่กาะช้าง
สงครามมหาเอเซียบูรพา
สงครามเกาหลี 
สงครามเวียตนาม 
กรณีปราสาทพระวิหาร
กรณีโรฮิงยา
ความไม่สงบชายแดนภาคใต้
อนุสาวรีย์วีรชน 
สารานุกรมฉบับย่อ()
ตัวหนังสือไทย
เรียนหนังสือไทยสมัยก่อน 
รามเกียรติ์ 
ขุนช้าง ขุนแผน
พระอภัยมณี
นิราศ
กาพย์เห่เรือ
สุภาษิตไทย
ธรรมเนียมประเพณีไทย 
โหราศาสตร์ไทย 
เพลงไทยให้สาระ
เงินตราไทย
เครื่องดนตรีไทย
หมากรุกไทย
มวยไทย
สมุนไพรไทย
พันธุ์ไม้ดอกไทย
นกในประเทศไทย
อุทยานแห่งชาติ
 
ทางบก
 ทางทะเล
เที่ยวทั่วไทย 
เที่ยวไปชมไป

 ศาสนา                                     

การบริหารคณะสงฆ์
การศึกษาพระปริยัติธรรม
กฎหมายพระสงฆ์ของไทย
สมเด็จพระสังฆราช
ทำเนียบสมณศักดิ์
พัดยศสมณศักดิ์
คณะสงฆ์จีนนิกาย
คณะสงฆ์อนัมนิกาย
พระพุทธรูปสมัยต่างๆ
พระพุทธรูปสำคัญ
พระพุทธรูปปางต่างๆ
พระพุทธรูปประจำวัน
พระธาตุเจดีย์
พระพุทธบาท
พระแท่น
พระไตรปิฎก
การแสดงธรรมของพระพุทธเจ้า
การบัญญัติพระวินัย
โสพัสปัญหา
พุทธประวัติ
พระอสีติมหาสาวก
พุทธศาสนสุภาษิต
พุทธานุวัตร
วันสำคัญในพระพุทธศาสนา
พุทธศาสนพิธี
พระป่าและวัดป่า
พุทธศาสนาในปัจจุบัน
ภัยแห่งพุทธศาสนา
ศาสนาต่างๆในไทย)

  พระมหากษัตริย์                      

พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัย
พระมหากษัตริย์กรุงศรีอยุธยา
พระมหากษัตริย์สมัยธนบุรี
พระบรมราชจักรีวงศ์
พระชัยวัฒน์ประจำรัชกาล
พระราชลัญจกร
เครื่องราชกกุธภัณฑ์
ธงในองค์พระมหากษัตริย์
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก
น้ำอภิเษก
พระราชพิธีสิบสองเดือน
พระราชานุกิจ
จอมทัพไทย
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
เหรียญอันเนื่องจากการรบ
พระบรมมหาราชวัง
ประชุมพงศาวดาร
ราชการสงครามฯ
งานกู้ชาติฯ
ประชุมพระราชปุจฉา
พระราชหัตถเลขา ใน ร.๔
พระบรมราโชบายฯ ร.๕
พระราชดำรัส ใน ร.๕
พระราชนิพนธ์ ใน ร.๖
ร.๖ กับการป้องกันประเทศ
พระราชดำริใน ร.๗
พระบรมราโชวาท

 มุมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทย์และเทคโน
ศูนย์เทคโนอีเลคทรอนิกส์และคอมแห่งชาติ
เว็บการเรียนรู้วิทย์และเทคโนร.ร.ในชนบท
ดาราศาสตร์สำหรับคนไทย
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีแห่งชาติ
แหล่งความรู้วิศวโยธา,เครื่องกลและขนส่ง
โครงการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ[lesa]
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนแห่งไทย
องค์การพิพธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
ดูดาวดอทคอม
รวมบทความด้านวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
นิยายวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์น่ารู้

 

 มุมศาสนาต่างๆ                      

สำนักข่าวชาวพุทธ
มุสลิมไทยไซเบอร์เน็ต
หนังสือธรรมะออนไลน์
ธรรมะไทย
มุสลิมแคมปัสดอทคอม
โบสถ์คริสเตียนไทยอเมริกา
กัลยาณมิตร
เสขิยธรรม
มหาวิทยาลัยสงฆ์ไทย
อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ
หลวงตามหาบัว
พุทธทาสศึกษา
พระรัตนตรัย
เครือข่ายสาระธรรมอิสลาม
มูลนิธิศุภนิมิตไทย
พระคริสตธรรมไทย

 10 อันดับเว็บข้อมูล อ้างอิง        

 www.google.co.th สุดยอดเว็บในการหาข้อมูล
 
www.glo.or.th สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล
 
www.siamguru.com บริการค้นหาข้อมูลต่างๆ
 
www.truehits.net เว็บแสดงสถิติการเยี่ยมชม
 
lexitron.nectec.or.th ดิกชันนารีออนไลน์
 
www.yellowpages.co.th สมุดหน้าเหลืองออนไลน์
 
www.police.go.th สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
 
phonebook.tot.or.th ค้นหาหมายเลขโทรศัพท์
 
www.trainingthai.com ข่าว,ข้อมูลการฝึกอบรมสัมมนาต่างๆ
 
www.khonthai.com แหล่งข้อมูลด้านทะเบียนราษฎร์ต่างๆ



๑๐๘นวางค์รอบจักรวาล*

 ๑๐๘ นวางค์รอบจักรวาล

ดวงจักรราศีวิภาค

 

ดวงจักรราศีวิภาค ได้จำลองปรากฎการณ์จริงของระบบสุริยจักรวาลเอาไว้ อันได้แก่ โลก ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ ซึ่งถูกต้องกับความเป็นจริงบนท้องฟ้าทุกอย่าง (ถ้าไม่อยากปวดศรีษะ ขอให้ทำความเข้าใจอย่างช้าๆ ก่อนอื่นพริ้นท์ใบดวงจักรราศีวิภาคออกมาก่อน พริ้นท์เยอะๆ ขณะทำความเข้าใจ กรอกลัคน์และดาวด้วยดินสอก่อน ดวงจักรราศีวิภาค เมื่อใส่ลัคน์และดาวลงไป จะกลายเป็นดวงพิชัยสงคราม)

1ราศี = 30 องศา มี 9 นวางค์ (ช่องเล็กๆในราศี 9 ช่อง) โลกใช้เวลาหมุนรอบตัวเอง 120 นาที ต่อ 1 ราศี , 13 นาที 20 วินาที ต่อ 1 นวางค์ ( 1 นวางค์ = 3 องศา 20 ลิบดา) 1 รอบจักรราศี = 12 ราศี = 108 นวางค์

1 นักษัตรฤกษ์ = 4 บาทฤกษ์ ดวงจันทร์ใช้เวลาโคจร 24 ช.ม.ต่อ 1 นักษัตรฤกษ์ , ใช้เวลาโคจร 6 ช.ม.ต่อ 1 บาทฤกษ์ (1 บาทฤกษ์ = 3 องศา 20 ลิบดา นวางค์กับบาทฤกษ์มีระยะทางเท่ากัน) 1 รอบจักรราศี = 27 นักษัตรฤกษ์ 1 นักษัตรฤกษ์ = 1 ค่ำ ข้างขึ้นหรือแรม

1 จักรราศี = 360 องศา โลกใช้เวลาโคจรรอบดวงอาทิตย์ 365 วัน ต่อ 1 รอบจักรราศี , 1 เดือน ต่อ 1 ราศี (วิชาโหราศาสตร์เรียกการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ เป็น การโคจรของดวงอาทิตย์ เรียกว่า สุริยวิถีหรือระวิมรรค)

1 ตรียางค์ = 10 องศา มี 3 นวางค์ 1 รอบจักรราศีมี 36 ตรียางค์ (เรื่องตรียางค์ไม่ใช่ปรากฎการณ์จริงในระบบสุริยจักรวาล แต่เป็นเรื่องของธาตุประจำราศีต่างๆ ได้แก่ ธาตุไฟ ดิน ลมและน้ำ แบ่งธาตุประจำราศีออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ ราศีต้นธาตุ กลางธาตุและปลายธาตุ)

เมื่อทราบสมผุสของลัคนาและดาวทุกดวงแล้ว ให้กรอกลงไปในช่องนวางค์ตามองศาของลัคน์และดาว ดังต่อไปนี้

นวางค์ที่ 1 = 0˚00’ - 3˚20’
นวางค์ที่ 2 = 3˚21’ - 6˚40’
นวางค์ที่ 3 = 6˚41’ - 10˚00’
นวางค์ที่ 4 = 10˚01’ - 13˚20’
นวางค์ที่ 5 = 13˚21’ - 16˚40’
นวางค์ที่ 6 = 16˚41’ - 20˚00’
นวางค์ที่ 7 = 20˚01’ - 23˚20’
นวางค์ที่ 8 = 23˚21’ - 26˚40’
นวางค์ที่ 9 = 26˚41’ - 30˚00’

จะทราบได้ว่าลัคนาและดาวสถิตนวางค์บริสุทธิ์ หรือนวางค์พิษ

นวางค์พิษมี 3 ลักษณะ คือ
1..เกาะตรียางค์พิษ

2..เกาะนวางค์หัวต่อตรงกับฤกษ์นักษัตรพิษ
3..เกาะนวางค์ตรงกับฤกษ์คาบเกี่ยว 2 ราศี (หรือฤกษ์นักษัตรพิษ)

จะทราบได้ว่าลัคนาและดาวสถิตฤกษ์บริสุทธิ์ หรือ ฤกษ์นักษัตรพิษ

ฤกษ์นักษัตรพิษมี 2 ลักษณะ ได้แก่
1..ฤกษ์คาบเกี่ยว 2 ราศี หรือฤกษ์แตก
2..ฤกษ์ที่เกาะตรียางค์พิ


นวางค์ หรือ ลูกนวางค์

ราศีหนึ่งๆมี 9 นวางค์ รอบจักรวาล มี 12 ราศี = มีลูกนวางค์อยู่รอบจักรวาล 108 นวางค์
นวางค์ลูกที่ 1 กำหนดตั้งแต่ดาวอังคาร เกษตรราศีเมษ ไปสิ้นสุดที่นวางค์ลูกที่ 108 ดาวพฤหัส เกษตรราศีมีน
การแบ่งภาคของลูกนวางค์
ลูกนวางค์ 108 นวางค์นี้ แบ่งออกเป็น 3 ภาคๆละ 4 ราศี ดังนี้
ภาคที่ 1 ตั้งแต่ราศีเมษ ถึง ราศีกรกฎ มี 36 นวางค์
ภาคที่ 2 ตั้งแต่ราศีสิงห์ ถึง ราศีพิจิก มี 36 นวางค์
ภาคที่ 3 ตั้งแต่ราศีธนู ถึง ราศีมีน มี 36 นวางค์
การกำหนดภาคของฤดูกาลของลูกนวางค์
ภาคที่ 1 เป็นลูกนวางค์ทางเดินของ โคณวิถี ตั้งแต่ฤกษ์ที่ 1 ถึง 9
ภาคที่ 2 เป็นลูกนวางค์ทางเดินของ นาควิถี ตั้งแต่ฤกษ์ที่ 10 ถึง 18
ภาคที่ 3 เป็นลูกนวางค์ทางเดินของ อัชชะวิถี ตั้งแต่ฤกษ์ที่ 19 ถึง 27

กฎไตรวิถี

กฎเกณฑ์ลูกนวางค์ให้โทษให้คุณ
โทษของลูกนวางค์
กฎที่ 1 ลูกนวางค์ขาด
กฎที่ 2 ลูกนวางค์เกี่ยว 2 ราศี
กฎที่ 3 ลูกนวางค์เกาะเกี่ยวตรียางค์พิษ
กฎที่ 1 นวางค์ขาด
ก. นวางค์ลูกที่ 1 ในราศีเมษ สิงห์ ธนู ได้แก่ ดาวอังคาร เรียกว่า ปฐมนวางค์ คือ อยู่ในช่วงระหว่าง 2 ราศี คาบเกี่ยวกัน มีชื่อว่า พยกริขัง เป็นลูกนวางค์ที่ให้โทษ
1..เจ็บป่วย สังขารไม่สมบูรณ์
2..มีครอบครัว มักจะไม่ค่อยเป็นปกติสุข
3..มียศ ตำแหน่ง หน้าที่การงาน จะต้องถูกผู้อื่นแย่งเอาไป (อย่าทายอุบัติเหตุอย่างตรียางค์พิษ)
ข. นวางค์ลูกที่ 9 ในราศีกรกฎ พิจิก มีน ได้แก่ดาวพฤหัส เรียกว่า นวนวางค์ กำหนดอย่างเดียวกับข้อ ก. กฎเกณฑ์ของลูกนวางค์นี้ แม้จะอยู่ในภพที่เด่นก็จะทรุดลง คือ เด่นไม่ตลอด หรือ เด่นไม่สูงนัก แต่ไม่เกิดอุบัติเหตุถึงแก่ชีวิต คือ
๑ กุมลัคน์ การดำเนินชีวิตมักมีอุปสรรค จะไม่ค่อยราบรื่นต่อกัน หรือพึ่งพาญาติพี่น้องไม่ได้ตลอด
๒ เป็นบริวาร วงศ์วารญาติพี่น้อง จะไม่ค่อยราบรื่นต่อกัน หรือจะพึ่งญาติพี่น้องไม่ได้ตลอด
๓ เป็นอายุ สังขารจะไม่ค่อยแข็งแรง หรือมักมีโรคภัยเบียดเบียน
๔ เป็นเดช อำนาจ หรือยศ ตำแหน่งหน้าที่จะเสื่อมลง
๕ เป็นศรี การเงินมักขลุกขลัก หรือวุ่นวายการเงิน
๖ เป็นมูละ ที่อยู่อาศัย หรือหน้าที่การงานไม่ค่อยราบรื่น
๗ เป็นอุตสาหะ การศึกษา หรือความพยายามไม่ค่อยเต็มผล
๘ เป็นมนตรี ไร้ที่พึ่งผู้อุปการะ หรือมีผู้อุปการะอยู่ไม่นาน
๙ เป็นกาลกิณี เดือดร้อนอยู่เป็นนิจ หาเลี้ยงชีพไม่พอกิน มักเร่ร่อน
ในคัมภีร์ทักษาสังคหะปกรณ์ กล่าวยืนยันไว้ ดังนี้
๑ บริวาร กุมลัคน์ มีพี่น้องพงษามาก และเป็นที่พึ่ง
๒ อายุ กุมลัคน์ มักขี้โรค ร่างกายอ่อนแอ
๓ เดช กุมลัคน์ มียศ ตำแหน่งหน้าสูง มีอำนาจ
๔ ศรี กุมลัคน์ สมบูรณ์ด้วยโภคาทรัพย์ เงินทองสมบูรณ์
๕ มูละ กุมลัคน์ มีมรดก และหลักฐานดี
๖ อุตสาหะ กุมลัคน์
.......................
เป็นคนขยันในการประกอบอาชีพ
๗ มนตรี กุมลัคน์ มีวาสนา มีผู้อุปถัมภ์ช่วยเหลือ
๘ กาลกิณี กุมลัคน์ อาภัพ ทำการใดไม่ปรากฎผลดี
นี่เป็นปกรณ์หนึ่งในคัมภีร์ทักษา แต่ถ้าพระเคราะห์ทักษาเป็นดาววิบัติก็จะเปลี่ยนแปลงไป เช่น ดาวบริวารกุมลัคน์ แต่ถ้าเป็นลูกนวางค์ขาด ก็พึ่งญาติพี่น้องไม่ได้ หรือถ้าเป็นตรียางค์ลูกพิษ พี่น้องกลับจะก่อความหายนะให้แก่ตน ดาวศรีกุมลัคน์ ก็เช่นเดียวกัน ทรัพย์สินก็ไม่ค่อยราบรื่น
กฎที่ ๒ นวางค์เกี่ยว ๒ ราศี
นวางค์เกี่ยว ๒ ราศี แบ่งเป็น ๓ ภาค คือ
ภาคที่ ๑ ระหว่างราศีเมษ กับ พฤษภ เกาะโจโรฤกษ์............หมวดที่ ๑
ระหว่างราศีพฤษภ กับ มิถุน เกาะเทศาตรีฤกษ์.......หมวดที่ ๑
ระหว่างราศีมิถุน กับ กรกฎ เกาะเพชฌฆาต...........หมวดที่ ๑
ภาคที่ ๒ ระหว่างราศีสิงห์ กับ กันย์ เกาะโจโรฤกษ์.............หมวดที่ ๒
ระหว่างราศีกันย์ กับ ตุลย์ เกาะเทศาตรีฤกษ์.......หมวดที่ ๒
ระหว่างราศีตุลย์ กับ พิจิก เกาะเพชฌฆาตฤกษ์...หมวดที่ ๒
ภาคที่ ๓ ระหว่างราศีธนู กับ มังกร เกาะโจโรฤกษ์.............หมวดที่ ๓
ระหว่างราศีมังกร กับ กุมภ์ เกาะเทศาตรีฤกษ์........หมวดที่ ๓
ระหว่างราศีกุมภ์ กับ มีน เกาะเพชฌฆาตฤกษ์....หมวดที่ ๓

นวางค์คาบเกี่ยว ๒ ราศีนี้
..................

โหรทั่วไปเรียกว่า...นวางค์ขาด ซึ่งเป็นการเข้าใจผิด จึงได้เรียกกันผิดๆ ที่ถูกเรียกว่า "นวางค์ภินทุบาทว์" คือ นวางค์ให้โทษ เพราะเกาะฤกษ์ภินทุบาทว์ใน ๓ ฤกษ์ คือ โจโร เทศาตรี เพชฌฆาต และภินทฤกษ์ทั้ง ๓ นี้มิใช่จะให้โทษเสมอไป ก็มีส่วนดีให้คุณแก่พื้นชะตาให้เด่นรุ่งเรืองได้ เช่น
โจโรฤกษ์ เป็นจอมทัพ ปราบปรามเหล่าทุจริต หรือปราบโจร
เทศาตรีฤกษ์ เป็นสายลับ กองสอดแนม สืบเสาะหาซ่องโสณทุจริต
เพชฌฆาตฤกษ์ เป็นฝ่ายปกครอง คุมกองทัพ บุกทลาย เข่นฆ่าเหล่าไพรี
กฎที่ ๓ นวางค์เกี่ยวตรียางค์พิษ
ท่านกำหนดให้ใช้ดาวเคราะห์ในนวางค์ที่ ๒ ของตรียางค์เป็นเกณฑ์ให้โทษ
กฎที่ ๑ นวางค์ขาด ทาย....เอกโทษ
กฎที่ ๒ นวางค์เกี่ยว ๒ราศี ทาย....ทุวันโทษ
กฎที่ ๓ นวางค์เกี่ยวตรียางค์ลูกพิษ ทาย....ตรีโทษ

พิจารณาทายลูกนวางค์
ลัคน์เกาะนวางค์ลูกใด ก็ให้เอานวางค์ลูกนั้นมาประกอบทายชะตา แต่อย่าได้กำหนดเอาเป็นดาวเจ้าการ ส่วนดาวเจ้าการนั้นให้กำหนดเอาตนุลัคน์ และอย่าเอาดาวลูกนวางค์ทายนิสัย พฤติกรรม กำหนดเอาดาวลูกนวางค์นั้นๆให้คุณหรือเสื่อมเท่านั้น แต่เมื่อลูกนวางค์อยู่ใน ๓ กฎนี้ก็ทายได้ว่า...เป็นลูกนวางค์เสื่อม ถึงจะดีก็ดีอย่างตุปัดตุเป๋ เพราะเป็นลูกนวางค์ที่อ่อนกำลัง เปรียบเสมือนคนแขนขาชา
หลักการทายกฎที่ ๑
ลูกนวางค์ดาว ๑ ไม่มีภูมิวิทยาการใดๆ ถึงแม่จะมีก็ไม่เด่น ไม่มีเกียรติภูมิ ถ้ากุมลัคน์มักจะขี้เท่อ
ลูกนวางค์ดาว ๒ ไร้ผู้อุปการะที่ดี หาความสุขสบายมิได้ ถ้ากุมลัคน์อับเฉาเศร้าโศรก
ลูกนวางค์ดาว ๓ ทำการใดมิเป็นผลดี ท้อแท้และอ่อนแอ ถ้ากุมลัคน์เกียจคร้าน หรือทำงานไม่แน่นอน
ลูกนวางค์ดาว ๔ การพูดจาไร้คนเชื่อถือ ถ้ากุมลัคน์มักพูดเพ้อเจ้อ
ลูกนวางค์ดาว ๕ คิดการใดขาดๆเป็นห้วงๆ ไม่มีใครไว้วางใจ และมักจะเผลอเรอ ถ้ากุมลัคน์สติ ปัญญา ความคิดผิดเรื่อง
ลูกนวางค์ดาว ๖ ไร้ศิลปวิทยาการใดๆ ใจบกพร่อง ถ้ากุมลัคน์อาภัพ
ลูกนวางค์ดาว ๗
..................
กรรมกรชั้นต่ำ สัปเหร่อ
...............................................
ถ้ากุมลัคน์ต้องนอนศาลาวัด 
หมายเหตุ ในกรณีลัคน์เกาะลูกนวางค์ดาว ๗ เป็นนวางค์เสื่อมด้วยกฎใดๆก็ดี พิจารณาว่า...ในวัยต้นถึงกึ่งหนึ่งของวัยกลางเสื่อม
ดาว ๗ ไปเกาะ เป็นวรโคตรนวางค์ พิจารณาว่า...กึ่งหลังของวัยกลางและวัยปลายเข้มแข็ง วิชาการ กิจการ ความคิดประเสริฐ มักจะได้เป็นใหญ่ในสายงานของตน กุมลัคน์เกียรติเด่น  
ในกรณีดาวอื่นๆ ก็ให้พิจารณาแบบเดียวกัน
ลูกนวางค์ดาว ๘ ไม่มีอะไรเป็นแก่นสารแก่ตน ถ้ากุมลัคน์คนเจนตะราง ขี้คุก
หลักการทายกฎที่ ๒
ลูกนวางค์เป็นบริวาร มีญาติพี่น้องมักไม่ปรองดองกัน
ลูกนวางค์เป็นอายุ ความนึกคิดและสุขภาพไม่ผ่องใส
ลูกนวางค์เป็นเดช ยศและตำแหน่งหน้าที่ไม่สูง
ลูกนวางค์เป็นศรี มีทรัพย์สินเงินทองกระพร่องกระแพร่ง
ลูกนวางค์เป็นมูละ ที่อยู่อาศัยไม่ราบรื่น
ลูกนวางค์เป็นอุตสาหะ ทำการใดสำเร็จครึ่งๆกลางๆ
ลูกนวางค์เป็นมนตรี คู่ครองและครอบครัวไม่มีความสุข
ลูกนวางค์เป็นกาลกิณี มีทุกข์นิรันดร์ วิถีชีวิตอลเวง

หลักการทายกฎที่ ๓

ลูกนวางค์เป็นเกษตร

ความมั่นคงในหลักทรัพย์,อาชีพไม่มั่นคง

ลูกนวางค์เป็นมหาอุจ

ความแข็งแกร่งในกิจการงานและหน้าที่ไม่มั่นคง

ลูกนวางค์เป็นมหาจักรมหาจักร......................... .....

ความคล่องแคล่ว ความสง่าไม่มี

ลูกนวางค์เป็นราชาโชค

วาสนา ผู้อุปถัมภ์ช่วยเหลือไม่มั่นคง

ลูกนวางค์เป็นประ

วิถีชีวิตแปรปรวน ผันผวน

ลูกนวางค์เป็นนิจ

เสื่อมผล อับเฉา
หลักการทายกฎที่ ๔
ลูกนวางค์สถิตภพที่ ๒ มีทรัพย์สินเงินทองไม่สมบูรณ์ เศรษฐีกลับยากจน
ลูกนวางค์สถิตภพที่ ๓ ไม่มีเพื่อนสนิท มีมิตรพึ่งไม่ได้ ไร้ผู้ช่วยเหลือ
ลูกนวางค์สถิตภพที่ ๔ มีพี่น้องวงศ์วารไม่เป็นถูกใจกัน แตกแยก
ลูกนวางค์สถิตภพที่ ๕ มีบุตร คู่ครอง ไม่เป็นที่สุขใจ
ลูกนวางค์สถิตภพที่ ๖ มีภัย มีคนรังเกลียดมาก ทั้งคนไกลคนใกล้
ลูกนวางค์สถิตภพที่ ๗ การติดต่อธุรกิจการต่างๆ ความสัมพันธ์ ข้อตกลง สับปลับ
ลูกนวางค์สถิตภพที่ ๘ จะประสบเคราะห์กรรม
ลูกนวางค์สถิตภพที่ ๙ ครอบครัว วงศ์ตระกูล วาสนา ไม่ถาวร
ลูกนวางค์สถิตภพที่ ๑๐ ผลกิจการต่างๆ ไม่เป็นผลดี เจริญไม่ตลอด
ลูกนวางค์สถิตภพที่ ๑๑ ผลรายได้ไม่น่าชื่นชม
ลูกนวางค์สถิตภพที่ ๑๒ เกณฑ์กาลทัณฑ์ จะประสบความยุ่วยาก หายนะ
หลักการทายกฎที่ ๕
ลูกนวางค์เป็นโยค ทำมุม ๖๐ º ไม่เด่นรุ่งโรจน์นัก เป็นไปอย่างพื้นๆ
ลูกนวางค์เป็นจตุโกณ ทำมุม ๙๐ º  ผลงานไม่ได้ดี เป็นไปอย่างพื้นๆ
ลูกนวางค์เป็นตรีโกณ ทำมุม ๑๒๐ º สภาพความเป็นอยู่ไม่มีความสุข วิถีชีวิตเป็นไปอย่างพื้น

นวางค์ที่ให้คุณก็ส่งผล

กฎที่ ๑ ลัคน์เกาะวรโคตรนวางค์
กฎที่ ๒ ลัคน์เกาะบูรณะนวางค์
กฎที่ ๓ ลัคน์เกาะนวางค์พิสุทธิฤกษ์

 

ราศีหนึ่งๆกำหนดนวางค์ไว้ ๙ ลูก

นวางค์ลูกที่ ๑ เรียกว่า...ปฐมนวางค์
นวางค์ลูกที่ ๒ เรียกว่า...ทุติยะนวางค์
นวางค์ลูกที่ ๓ เรียกว่า...ตติยะนวางค์
นวางค์ลูกที่ ๔ เรียกว่า...จตุตถะนวางค์
นวางค์ลูกที่ ๕ เรียกว่า...ปัญจมะนวางค์
นวางค์ลูกที่ ๖ เรียกว่า...ฉฎฐะนวางค์
นวางค์ลูกที่ ๗ เรียกว่า...สัตตมะนวางค์
นวางค์ลูกที่ ๘ เรียกว่า...อัฎฐะนวางค์
นวางค์ลูกที่ ๙ เรียกว่า...นวะนวางค์







Copyright © 2010 All Rights Reserved.