ReadyPlanet.com
dot dot
bulletHorasaadRevision.com
dot
ห้องโหรแว่นทิพย์
dot
bulletWelcome to foreigners
bulletกำเนิดจักรราศี*
bulletประวัติของวิชาโหราศาสตร์*
bulletวิชาโหราศาสตร์ไทยเบื้องต้น*
bulletกฎเกณฑ์วิชาโหราศาสตร์ไทย*
bulletอันโตนาที*
bulletอายนางศ์*
bulletวิธีคำนวนสมผุสลัคนา*
bulletนัยยะแห่งเรือนราศี*
bulletนัยยะแห่งเรือนชะตา*
bulletนัยยะแห่งดวงดาว*
bulletนัยยะแห่งตำแหน่งดาว*
bulletทิศาพยากรณ์*
bulletโรคาพยากรณ์*
bulletทักษาพยากรณ์*
bullet๑๐๘นวางค์รอบจักรวาล*
bulletวรโคตรนวางค์*
bulletตรียางค์พิษ*
bulletโหรปัตนิและดาวพระศุกร์*
bulletนานาปกรณ์เกี่ยวกับฤกษ์*
bulletเกร็ดโหราศาสตร์*
bulletเคล็ดวิชาต่างๆ*
bulletการทำนายฝันและเคล็ดลับการแก้ฝัน*
bulletพระพุทธรูปบูชาประจำวันเกิด พร้อมคาถาบูชา*
bulletพระคาถาชินบัญชร*
dot
โหราศาสตร์ไทย ฉบับหอมรดกไทย
dot
bulletตำนานดาวพระเคราะห์
bulletการแบ่งจักรราศี
bulletตำรามหาทักษา
bulletคัมภีร์กาลโยค
bulletลัคนากับดวงชะตา
bulletมาตรฐานดาวเคราะห์
dot
หน้าแบบฟอร์มต่างๆของเว็บไซด์
dot
bulletแบบฟอร์มตั้งชื่อ-นามสกุล
bulletแบบฟอร์มฤกษ์พิธีมงคลต่างๆ
bulletแบบฟอร์มฤกษ์คลอดบุตร
bulletแบบฟอร์มฤกษ์มงคลสมรส
bulletแบบฟอร์มฤกษ์เปลี่ยนชื่อ
bulletแบบฟอร์มห้องเรียนโหร
bulletสมุดเยี่ยม
dot
เกร็ดพยากรณ์..เพื่อความบันเทิง
dot
bulletนิสัยสาว 12 ราศี
bulletทายนิสัยจากเดือนเกิด
bulletจุดร้อนตามราศี
bulletความรักตามวันเกิด
bulletทายนิสัยจากการใส่แหวน
bulletผลไม้ทายนิสัย
bulletความรักตามกรุ๊ปเลือด
bulletอ่านใจหนุ่ม 12 ราศี
bulletผู้ชายเพอร์เฟค
bulletน้ำหอมกับราศี
bulletวิธีมัดใจหนุ่ม-สาวราศีต่างๆ
bulletพยากรณ์ ช-ญ ตามวันเกิด
bulletวันเกิดบอกนิสัยเนื้อคู่ ช-ญ
bulletทำนายเซ็กส์กับราศี
bulletความลับบนเตียง 12 ราศี
bulletเคล็ดลับดูไฝบนกายสาว
bulletทำนายผู้เกิดใน 12 นักษัตร
bulletคู่แต่ง คู่รัก คู่ขา?
bulletทายนิสัยคนใกล้ตัว 17 เรื่อง
bulletดวงของผู้หญิงตามวันเกิด
bulletดู ตัวตน,ชอบ,ยี้ หนุ่มสาว
bulletต้นไม้มงคลกับราศีเกิด
dot
เว็บวาไรตี้ยอดนิยม
dot
bulletwww.sanook.com
bulletwww.kapook.com
bulletwww.mthai.com
bulletwww.ragnarog.in.th
bulletwww.hunsa.com
bulletwww.teenee.com
bulletwww.365jukebox.com
bulletwww.dek-d.com
bulletwww.zuzaa.com
bulletwww.wanjai.com
bulletwww.narak.com
bulletwww.jorjae.com
bulletwww.aromdee.com
bulletwww.deedeejang.com
bulletwww.funwhan.com
bulletwww.saranair.com
bulletwww.madoo.com
dot
หนังสือพิมพ์ไทย-เทศ
dot
bulletกรุงเทพธุรกิจ
bulletข่าวสด
bulletคม ชัด ลึก
bulletฐานเศรษฐกิจ
bulletเดลินิวส์
bulletไทยรัฐ
bulletไทยโพสท์
bulletแนวหน้า
bulletประชาชาติธุรกิจ
bulletผู้จัดการ
bulletมติชน
bulletโพสท์ทูเดย์
bulletสยามธุรกิจ
bulletสยามกีฬา
bulletสยามรัฐ
bulletBangkok Post
bulletThe Nation
bulletVoice of America
bulletBBC Thai
dot
Foreign newspaper
dot
bulletNew Straits Time MY
bulletThe Straits Time SG
bulletVientiane Times LAOS
bulletNew Light of Myanmar
bulletThe Daily Tribune PH
bulletThe Manila Times PH
bulletThe Jakarta Post
bulletS. China Morning Post
bulletChina Daily CN
bulletTaipei Times TW
bulletYomiuri Shimbun JP
bulletThe Asahi Shimbun JP
bulletThe times of India
bulletAl Jazeera
bulletThe Guardian UK
bulletThe Times UK
bulletBBC News UK
bulletLe Monde FR
bulletDie Welt DE
bulletLa Nacion Line AR
bulletThe New York Time
bullet USA today
bulletThe Washington Post
bulletThe wall street Journal
bulletOnline Newspaper Di.tory
dot
ธนาคารต่างๆ
dot
bulletธ.กรุงเทพ
bulletธ.กรุงไทย
bulletธ.กรุงไทย ชาริอะฮ์
bulletธ.กรุงศรีอยุธยา
bulletธ.กสิกรไทย
bulletธ.ซิติ้แบงค์
bulletธ.ดีบีเอส ไทยทนุ
bulletธ.ทหารไทย
bulletธ.ธนชาต
bulletธ.นครหลวงไทย
bulletธ.ยูโอบี รัตนสิน
bulletธ.สแตนดาร์ด ช. นครธน
bulletธ.อิสลามแห่งประเทศไทย
bulletธ.เอเซีย
bulletธ.ไทยธนาคาร
bulletธ.ไทยพาณิชย์
bulletพระคาถาชินบัญชร*
bulletพระพุทธรูปบูชาประจำวันเกิด พร้อมคาถาบูชา*


เชิญค่ะ


 ดูหนังสือ สอบถาม
 สั่งซื้อ

eXTReMe Tracker

 ชาติ                                           

นานาทรรศนะ 
เสนอร่างรัฐธรรมนูญ
ปกิณกะ
เหตุการณ์ในอดีต 
เรื่องของไทยในอดีต 
เรื่องของชนชาติไทย
ภูมิศาสตร์ของไทย 
ก่อนสมัยสุโขทัย 
กรุงสุโขทัย
กรุงศรีอยุธยา
กรุงเทพมหานคร
นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่
อุทยานประวัติศาสตร์
เมืองเก่าของไทย
ทำเนียบหัวเมือง
การทหารของไทย
ธงชัยเฉลิมพล
ทหารรักษาพระองค์
ทหารอาสาต่างชาติ 
รู้เรื่องเมืองสยาม 
ประเทศเพื่อนบ้านของไทย()
ความสัมพันธ์ไทย-อเมริกัน 
เหตุการณ์ปี ร.ศ.๑๑๒
เหตุการณ์ปี ๒๔๗๕
กรณีพิพาทอินโดจีน
การรบที่กาะช้าง
สงครามมหาเอเซียบูรพา
สงครามเกาหลี 
สงครามเวียตนาม 
กรณีปราสาทพระวิหาร
กรณีโรฮิงยา
ความไม่สงบชายแดนภาคใต้
อนุสาวรีย์วีรชน 
สารานุกรมฉบับย่อ()
ตัวหนังสือไทย
เรียนหนังสือไทยสมัยก่อน 
รามเกียรติ์ 
ขุนช้าง ขุนแผน
พระอภัยมณี
นิราศ
กาพย์เห่เรือ
สุภาษิตไทย
ธรรมเนียมประเพณีไทย 
โหราศาสตร์ไทย 
เพลงไทยให้สาระ
เงินตราไทย
เครื่องดนตรีไทย
หมากรุกไทย
มวยไทย
สมุนไพรไทย
พันธุ์ไม้ดอกไทย
นกในประเทศไทย
อุทยานแห่งชาติ
 
ทางบก
 ทางทะเล
เที่ยวทั่วไทย 
เที่ยวไปชมไป

 ศาสนา                                     

การบริหารคณะสงฆ์
การศึกษาพระปริยัติธรรม
กฎหมายพระสงฆ์ของไทย
สมเด็จพระสังฆราช
ทำเนียบสมณศักดิ์
พัดยศสมณศักดิ์
คณะสงฆ์จีนนิกาย
คณะสงฆ์อนัมนิกาย
พระพุทธรูปสมัยต่างๆ
พระพุทธรูปสำคัญ
พระพุทธรูปปางต่างๆ
พระพุทธรูปประจำวัน
พระธาตุเจดีย์
พระพุทธบาท
พระแท่น
พระไตรปิฎก
การแสดงธรรมของพระพุทธเจ้า
การบัญญัติพระวินัย
โสพัสปัญหา
พุทธประวัติ
พระอสีติมหาสาวก
พุทธศาสนสุภาษิต
พุทธานุวัตร
วันสำคัญในพระพุทธศาสนา
พุทธศาสนพิธี
พระป่าและวัดป่า
พุทธศาสนาในปัจจุบัน
ภัยแห่งพุทธศาสนา
ศาสนาต่างๆในไทย)

  พระมหากษัตริย์                      

พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัย
พระมหากษัตริย์กรุงศรีอยุธยา
พระมหากษัตริย์สมัยธนบุรี
พระบรมราชจักรีวงศ์
พระชัยวัฒน์ประจำรัชกาล
พระราชลัญจกร
เครื่องราชกกุธภัณฑ์
ธงในองค์พระมหากษัตริย์
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก
น้ำอภิเษก
พระราชพิธีสิบสองเดือน
พระราชานุกิจ
จอมทัพไทย
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
เหรียญอันเนื่องจากการรบ
พระบรมมหาราชวัง
ประชุมพงศาวดาร
ราชการสงครามฯ
งานกู้ชาติฯ
ประชุมพระราชปุจฉา
พระราชหัตถเลขา ใน ร.๔
พระบรมราโชบายฯ ร.๕
พระราชดำรัส ใน ร.๕
พระราชนิพนธ์ ใน ร.๖
ร.๖ กับการป้องกันประเทศ
พระราชดำริใน ร.๗
พระบรมราโชวาท

 มุมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทย์และเทคโน
ศูนย์เทคโนอีเลคทรอนิกส์และคอมแห่งชาติ
เว็บการเรียนรู้วิทย์และเทคโนร.ร.ในชนบท
ดาราศาสตร์สำหรับคนไทย
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีแห่งชาติ
แหล่งความรู้วิศวโยธา,เครื่องกลและขนส่ง
โครงการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ[lesa]
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนแห่งไทย
องค์การพิพธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
ดูดาวดอทคอม
รวมบทความด้านวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
นิยายวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์น่ารู้

 

 มุมศาสนาต่างๆ                      

สำนักข่าวชาวพุทธ
มุสลิมไทยไซเบอร์เน็ต
หนังสือธรรมะออนไลน์
ธรรมะไทย
มุสลิมแคมปัสดอทคอม
โบสถ์คริสเตียนไทยอเมริกา
กัลยาณมิตร
เสขิยธรรม
มหาวิทยาลัยสงฆ์ไทย
อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ
หลวงตามหาบัว
พุทธทาสศึกษา
พระรัตนตรัย
เครือข่ายสาระธรรมอิสลาม
มูลนิธิศุภนิมิตไทย
พระคริสตธรรมไทย

 10 อันดับเว็บข้อมูล อ้างอิง        

 www.google.co.th สุดยอดเว็บในการหาข้อมูล
 
www.glo.or.th สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล
 
www.siamguru.com บริการค้นหาข้อมูลต่างๆ
 
www.truehits.net เว็บแสดงสถิติการเยี่ยมชม
 
lexitron.nectec.or.th ดิกชันนารีออนไลน์
 
www.yellowpages.co.th สมุดหน้าเหลืองออนไลน์
 
www.police.go.th สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
 
phonebook.tot.or.th ค้นหาหมายเลขโทรศัพท์
 
www.trainingthai.com ข่าว,ข้อมูลการฝึกอบรมสัมมนาต่างๆ
 
www.khonthai.com แหล่งข้อมูลด้านทะเบียนราษฎร์ต่างๆ



นักดาราศาสตร์ลงมติถอด"พลูโต"ออกจากสถานภาพ"ดาวเคราะห์" article

ประชุมสมาพันธ์ดาราศาสตร์สากลจัดขึ้น 3 ปีครั้ง และครั้งนับเป็นครั้งที่ 26 ที่มีประเด็นให้ผู้เข้าประชุมได้ระดมความคิด ถกเถียงกันอย่างเต็มที่ ไม่ว่าจะเป็นนิยามใหม่ของวัตถุบนท้องฟ้า และโดยเฉพาะอย่างยิ่งสถานภาพของพลูโต ที่ถกกันมานานกว่าสัปดาห์ และในวันสุดท้ายเหล่านักดาราศาสตร์ที่เข้าร่วมประชุมก็ต้องร่วมกันโหวตสถานภาพของดาวพลูโต
 
สมาชิก 300 คนที่ร่วมกำหนดสถานะของพลูโต และจัดระเบียบนิยามของวัตถุบนท้องฟ้ากันเสียใหม่

จอยซ์ลีน เบลล์ เบอร์เนลล ผู้เชี่ยวชาญด้านดาวนิวตรอน จากไอร์แลนด์เหนือ ซึ่งไม่ออกถอดพลูโตออกจากดาวเคราะห์ พยายามอธิบายให้ผู้เช้าประชุมฟัง พร้อมทั้งนำร่มมากางเป็นขอบเขตของดาวเคราะห์ และให้เจ้าหมาพลูโตจากวอล์ตดิสนีย์ แทนดาวพลูโต ว่าถึงแม้เป็นดาวเคราะห์แคระ แต่ก็สามารถอยู่ในกลุ่มดาวเคราะห์ได้เช่นกัน (ภาพ - IAU/Lars Holm Nielsen)

ตำแหน่งของดวงดาวในระบบสุริยะ โดยดาวเคราะห์จะเริ่มจากดาวพุธไปจนถึงเนปจูน ส่วน พลูโต คือดาวเคราะห์แคระ (ภาพ IAU)

พลูโตและจันทร์บริวารอีก 3 ดวง (ภาพ IAU)

ดาวเคราะห์ทั้ง 8 จากบนลงล่าง พุธ, ศุกร์, โลก (ดวงจันทร์อยู่ข้างๆ), อังคาร, พฤหัส, เสาร์, ยูเรนัส และเนปจูน (ภาพ NASA)

ขนาดของพลูโต เมื่อเทียบกับโลก ในสเกลเดียวกัน
     เอเจนซี/บีบีซีนิวส์/เอพี/ไอเอยู – นักดาราศาสตร์ลงมติถอด “พลูโต” ออกจากสถานภาพ “ดาวเคราะห์” และจัดชั้นให้เป็น “ดาวเคราะห์แคระ” ส่งผลให้ต้องปรับตำราดาราศาสตร์กันใหม่ทั้งโลก ต่อไปนี้ระบบสุริยะมีดาวเคราะห์เพียงแค่ 8 ดวงเท่านั้น อีกทั้งยังมีการนิยามและจัดประเภทวัตถุบนท้องฟ้าใหม่
       
       ที่ประชุมสมาพันธ์ดาราศาสตร์สากล หรือไอเอยู (International Astronomical Union's : IAU) ซึ่งมีนักดาราศาสตร์เกือบ 3,000 คนจาก 75 ประเทศร่วมประชุมอยู่ที่กรุงปราก สาธารณรัฐเชค ได้ลงมติถอดยศ “ดาวพลูโต” ออกจาก หมู่ “ดาวเคราะห์ชั้นเอก” แห่งระบบสุริยะ เมื่อวานนี้ (24 ส.ค.) โดยมีสมาชิกเพียงแค่ 300 คนที่ได้ร่วมโหวตยกบัตรสีเหลืองเพื่อแสดงความเห็นด้วยในประเด็นต่างๆ หลังจากถกถึงสถานะของ “พลูโต” กันอย่างถึงพริกถึงขิงมานานกว่าสัปดาห์
       
       “พูลโต” ถูกค้นพบโดยไคลด์ ทอมแบจ (Clyde Tombaugh) แห่งหอดูดาวโลเวล รัฐอริโซนา (Lowell Observatory in Flagstaff, Arizona) ในปี 1930 และได้รับการพิจารณาให้เป็นดาวเคราะห์ดวงที่ 9 ของระบบสุริยะจักรวาล นับเป็นดาวเคราะห์ในกลุ่มที่อยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ที่สุด แต่ตลอดเวลาก็ได้รับการถกเถียงว่าดาวดวงนี้เหมาะที่จะเป็นดาวเคราะห์หรือไม่
       
       เพราะ “พลูโต” มีลักษณะต่างจากดาวเคราะห์อีก 8 ดวงที่อยู่ในระบบมาก ไม่ว่าจะเป็นระยะทางที่อยู่ไกลจากดวงอาทิตย์และมีขนาดเล็กกว่าดาวเคราะห์อีก 8 ดวง และตั้งแต่หลังช่วงปี 1990 เป็นต้นมา นักดาราศาสตร์ก็เริ่มค้นพบวัตถุที่มีขนาดใกล้เคียงกับพลูโตที่แถบไคเปอร์ (Kuiper Belt) วงแหวนวัตถุน้ำแข็งบริเวณดาวเคราะห์ชั้นนอก ทำให้สถานภาพของพลูโตสั่นคลอนเข้าไปอีก
       
       ก่อนจะมีการโหวตตัดสินชะตากรรมของดาวพลูโตในครั้งนี้ นักดาราศาสตร์ที่มาร่วมประชุมตั้งแต่วันที่ 14 ส.ค.ที่ผ่านมา ได้ร่วมกันนิยามความหมายของ “ดาวเคราะห์” กันใหม่ให้ชัดเจน โดยได้ข้อสรุปว่า “ดาวเคราะห์” (planet) ต้องมีคุณสมบัติ คือ 1.เป็นวัตถุบนท้องฟ้าที่โคจรรอบดาวฤกษ์ แต่ตัวเองต้องไม่ใช่ดาวฤกษ์ 2.มีมวลมากพอที่จะมีแรงโน้มถ่วงดึงดูดตัวเองให้อยู่ในสภาวะสมดุลอุทกสถิต (hydrostatic equilibrium) และ 3. มีวงโคจรที่ชัดเจนและสอดคล้องกับดาวข้างเคียง
       

       เมื่อไอเอยูนิยามลักษณะดาวเคราะห์ออกมาเช่นนี้ก็ทำให้ “พลูโต” หลุดออกจากข่ายทันที เพราะมีวงโคจรเป็นวงรีที่ทับซ้อนกับดาวเนปจูน ส่วนดาวเคราะห์ที่เหลืออีก 8 ดวง อันได้แก่ ดาวพุธ, ดาวศุกร์, ดาวโลก, ดาวอังคาร, ดาวพฤหัส, ดาวเสาร์, ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน นั้นให้ระบุลงไปด้วยว่า เป็น “ดาวเคราะห์ชั้นเอก” (classical planet)
       
       นอกจากนี้ ก็มีการนิยามประเภทของดาวขึ้นมาใหม่อีกนั่นคือ “ดาวเคราะห์แคระ” (dwarf planets) ซึ่งคล้าย กับดาวเคราะห์น้อย (minor planets) ดาวเคราะห์แคระมีคุณสมบัติคล้ายๆ กับดาวเคราะห์ แต่ต่างกันตรงที่วงโคจรนั้นสามารถทับซ้อนกับดาวใกล้เคียงได้และไม่ได้เป็นจันทร์บริวารของดาวใด
       
       อีกทั้งยังมีการนิยามถึงวัตถุขนาดเล็กที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ โดยระบุให้เป็น “วัตถุขนาดเล็กในระบบสุริยะ” (Small Solar System Bodies) ซึ่งในชั้นนี้หมายรวมถึงดาวเคราะห์น้อย (asteroids), ดาวหาง (comets), วัตถุขนาดใหญ่นอกวงโคจรของดาวเนปจูน (Trans-Neptunian Objects-TNO) และวัตถุขนาดเล็กอื่นๆ
       
       ด้วยนิยามนี้ นักดาราศาสตร์เชื่อว่าคงจะมีการค้นพบดาวเคราะห์แคระเพิ่มขึ้นอีกมากมายภายในไม่กี่ปีข้างหน้า
       
       แต่ ณ ปัจจุบันนับจากนี้ไปตำราวิชาดาราศาสตร์ทั้งในโรงเรียนและระดับอุดมศึกษาก็จะต้องลบชื่อดาวเคราะห์ดวงที่ 9 ของระบบสุริยะออกไป ส่วนพลูโตก็กลายเป็นเพียงดาวเคราะห์แคระ
       

       นอกจาก สถานภาพของ “พลูโต” แล้ว ในการประชุม ไอเอยูได้สเนอญัตติที่จะเลื่อนขั้นดาวอีก 3 ดวงให้เข้าข่าย “ดาวเคราะห์” ซึ่งดาวทั้ง 3 ได้แก่ ดาวเคราะห์น้อยซีรีส (Ceres), ดวงจันทร์คารอน (Charon) จันทร์บริวารดวงใหญ่ที่สุดของพลูโตและ 2003 ยูบี313 (2003 UB313) หรือซีนา ที่มีขนาดใหญ่กว่าพลูโต แต่ที่ประชุมยังคงคัดค้าน
       
       โรบิน แคชโพล (Robin Catchpole) สถาบันดาราศาสตร์ในแคมบริดจ์ (Institute of Astronomy in Cambridge) สหราชอาณาจักร เผยความคิดส่วนตัวว่า ควรจะปล่อยพลูโตให้เป็นอย่างที่เป็นอยู่ เขามีโอกาสพบไคลด์ (เสียชีวิตไปเมื่อปี 1997) และรู้สึกดีที่ได้จับมือกับผู้ที่ค้นพบดาวเคราะห์
       
       “แต่เมื่อไอเอยูนำประเด็นดาวเคราะห์ดวงใหม่หลายดวงมาเสนอ ผมก็คัดค้าน มันจะทำให้เกิดความสับสนเข้าไปอีก ทางเลือกที่ดีที่สุดในตอนนี้คือถ้าจะลดระดับพลูโต ก็ปล่อยให้ดาวเคราะห์หลักยังคงเป็นไปตามเดิม นับเป็นสถานการณ์ที่ดีกว่า จะเพิ่มดาวเคราะห์เข้าไปอีก” แคชโพลกล่าว
       
       ทางด้านหลุยส์ ฟรีดแมน (Louis Friedman) ผู้อำนวยการบริหารสมาคมระบบดาวเคราะห์ ในแคลิฟอร์เนีย (Planetary Society in California) แสดงความเห็นว่า การแบ่งชั้นหรือจัดลำดับดาวต่างๆ นั้นไม่ใช่เรื่องสำคัญ ทั้งพลูโตและวัตถุอื่นๆ ในระบบสุริยะล้วนเป็นสิ่งที่น่ามหัศจรรย์ มนุษย์เราต้องพยายามสำรวจและทำความเข้าใจ
       
       แต่ไม่ว่าพลูโตจะเป็นวัตถุบนท้องฟ้าประเภทไหนก็ตาม ยานอวกาศไร้มนุษย์ “นิว ฮอไรซอนส์” (New Horizons) ขององค์การบริหารการบินอวกาศสหรัฐฯ (นาซา) ซึ่งกำลังเดินทางอยู่ในอวกาศมีกำหนดถึงดาวพลูโตและแถบไคเปอร์ในปี 2015 เพื่อเก็บข้อมูลอดีตดาวเคราะห์และวัตถุอื่นในระบบสุริยะ
...............................................................................

ที่มาเว็บ นสพ.ผู้จัดการ



โหราคอนเนอร์

Life is like a chocolate box, article
ปีนักษัตร-คู่สมพงศ์ article
ความสัมพันธ์ดาวในจักรวาลกับมนุษย์ article
สถาบันโหราศาสตร์เพื่อชีวิตแห่งประเทศไทย article
สิ่งดีๆที่ควรแบ่งปัน..สำหรับคนชอบดูดวงสมัยใหม่ article
ห้องหนังสือแว่นทิพย์ [ร้านหนังสือมือสองออนไลน์ ] article
วิถีบุญ วิถีกรรม: สะเดาะเคราะห์เสริมบุญบารมีได้จริงหรือ ? article
ราศีไทย กับ ราศีฝรั่ง article
มาตรฐานดาวเคราะห์ article
ลัคนากับดวงชะตา article
คัมภีร์กาลโยค article
ตำรามหาทักษา article
การแบ่งจักรราศีตามแบบโหราศาสตร์ article
วิชาโหราศาสตร์ไทย ฉบับหอมรดกไทย article
วิธีแก้กรรมด้วยตนเอง article
วิชาโหรยึดเป็นอาชีพได้หรือไม่? article
ความแตกต่างระหว่างหมอดูกับโหร article
อธิกมาส อธิกวาร อธิกสุรทิน article
"บัญญัติ10ประการ" !!! เกราะป้องกันภัยบนอินเตอร์เนต article



Copyright © 2010 All Rights Reserved.