ReadyPlanet.com
dot dot
bulletHorasaadRevision.com
dot
ห้องโหรแว่นทิพย์
dot
bulletWelcome to foreigners
bulletกำเนิดจักรราศี*
bulletประวัติของวิชาโหราศาสตร์*
bulletวิชาโหราศาสตร์ไทยเบื้องต้น*
bulletกฎเกณฑ์วิชาโหราศาสตร์ไทย*
bulletอันโตนาที*
bulletอายนางศ์*
bulletวิธีคำนวนสมผุสลัคนา*
bulletนัยยะแห่งเรือนราศี*
bulletนัยยะแห่งเรือนชะตา*
bulletนัยยะแห่งดวงดาว*
bulletนัยยะแห่งตำแหน่งดาว*
bulletทิศาพยากรณ์*
bulletโรคาพยากรณ์*
bulletทักษาพยากรณ์*
bullet๑๐๘นวางค์รอบจักรวาล*
bulletวรโคตรนวางค์*
bulletตรียางค์พิษ*
bulletโหรปัตนิและดาวพระศุกร์*
bulletนานาปกรณ์เกี่ยวกับฤกษ์*
bulletเกร็ดโหราศาสตร์*
bulletเคล็ดวิชาต่างๆ*
bulletการทำนายฝันและเคล็ดลับการแก้ฝัน*
bulletพระพุทธรูปบูชาประจำวันเกิด พร้อมคาถาบูชา*
bulletพระคาถาชินบัญชร*
dot
โหราศาสตร์ไทย ฉบับหอมรดกไทย
dot
bulletตำนานดาวพระเคราะห์
bulletการแบ่งจักรราศี
bulletตำรามหาทักษา
bulletคัมภีร์กาลโยค
bulletลัคนากับดวงชะตา
bulletมาตรฐานดาวเคราะห์
dot
หน้าแบบฟอร์มต่างๆของเว็บไซด์
dot
bulletแบบฟอร์มตั้งชื่อ-นามสกุล
bulletแบบฟอร์มฤกษ์พิธีมงคลต่างๆ
bulletแบบฟอร์มฤกษ์คลอดบุตร
bulletแบบฟอร์มฤกษ์มงคลสมรส
bulletแบบฟอร์มฤกษ์เปลี่ยนชื่อ
bulletแบบฟอร์มห้องเรียนโหร
bulletสมุดเยี่ยม
dot
เกร็ดพยากรณ์..เพื่อความบันเทิง
dot
bulletนิสัยสาว 12 ราศี
bulletทายนิสัยจากเดือนเกิด
bulletจุดร้อนตามราศี
bulletความรักตามวันเกิด
bulletทายนิสัยจากการใส่แหวน
bulletผลไม้ทายนิสัย
bulletความรักตามกรุ๊ปเลือด
bulletอ่านใจหนุ่ม 12 ราศี
bulletผู้ชายเพอร์เฟค
bulletน้ำหอมกับราศี
bulletวิธีมัดใจหนุ่ม-สาวราศีต่างๆ
bulletพยากรณ์ ช-ญ ตามวันเกิด
bulletวันเกิดบอกนิสัยเนื้อคู่ ช-ญ
bulletทำนายเซ็กส์กับราศี
bulletความลับบนเตียง 12 ราศี
bulletเคล็ดลับดูไฝบนกายสาว
bulletทำนายผู้เกิดใน 12 นักษัตร
bulletคู่แต่ง คู่รัก คู่ขา?
bulletทายนิสัยคนใกล้ตัว 17 เรื่อง
bulletดวงของผู้หญิงตามวันเกิด
bulletดู ตัวตน,ชอบ,ยี้ หนุ่มสาว
bulletต้นไม้มงคลกับราศีเกิด
dot
เว็บวาไรตี้ยอดนิยม
dot
bulletwww.sanook.com
bulletwww.kapook.com
bulletwww.mthai.com
bulletwww.ragnarog.in.th
bulletwww.hunsa.com
bulletwww.teenee.com
bulletwww.365jukebox.com
bulletwww.dek-d.com
bulletwww.zuzaa.com
bulletwww.wanjai.com
bulletwww.narak.com
bulletwww.jorjae.com
bulletwww.aromdee.com
bulletwww.deedeejang.com
bulletwww.funwhan.com
bulletwww.saranair.com
bulletwww.madoo.com
dot
หนังสือพิมพ์ไทย-เทศ
dot
bulletกรุงเทพธุรกิจ
bulletข่าวสด
bulletคม ชัด ลึก
bulletฐานเศรษฐกิจ
bulletเดลินิวส์
bulletไทยรัฐ
bulletไทยโพสท์
bulletแนวหน้า
bulletประชาชาติธุรกิจ
bulletผู้จัดการ
bulletมติชน
bulletโพสท์ทูเดย์
bulletสยามธุรกิจ
bulletสยามกีฬา
bulletสยามรัฐ
bulletBangkok Post
bulletThe Nation
bulletVoice of America
bulletBBC Thai
dot
Foreign newspaper
dot
bulletNew Straits Time MY
bulletThe Straits Time SG
bulletVientiane Times LAOS
bulletNew Light of Myanmar
bulletThe Daily Tribune PH
bulletThe Manila Times PH
bulletThe Jakarta Post
bulletS. China Morning Post
bulletChina Daily CN
bulletTaipei Times TW
bulletYomiuri Shimbun JP
bulletThe Asahi Shimbun JP
bulletThe times of India
bulletAl Jazeera
bulletThe Guardian UK
bulletThe Times UK
bulletBBC News UK
bulletLe Monde FR
bulletDie Welt DE
bulletLa Nacion Line AR
bulletThe New York Time
bullet USA today
bulletThe Washington Post
bulletThe wall street Journal
bulletOnline Newspaper Di.tory
dot
ธนาคารต่างๆ
dot
bulletธ.กรุงเทพ
bulletธ.กรุงไทย
bulletธ.กรุงไทย ชาริอะฮ์
bulletธ.กรุงศรีอยุธยา
bulletธ.กสิกรไทย
bulletธ.ซิติ้แบงค์
bulletธ.ดีบีเอส ไทยทนุ
bulletธ.ทหารไทย
bulletธ.ธนชาต
bulletธ.นครหลวงไทย
bulletธ.ยูโอบี รัตนสิน
bulletธ.สแตนดาร์ด ช. นครธน
bulletธ.อิสลามแห่งประเทศไทย
bulletธ.เอเซีย
bulletธ.ไทยธนาคาร
bulletธ.ไทยพาณิชย์
bulletพระคาถาชินบัญชร*
bulletพระพุทธรูปบูชาประจำวันเกิด พร้อมคาถาบูชา*


เชิญค่ะ


 ดูหนังสือ สอบถาม
 สั่งซื้อ

eXTReMe Tracker

 ชาติ                                           

นานาทรรศนะ 
เสนอร่างรัฐธรรมนูญ
ปกิณกะ
เหตุการณ์ในอดีต 
เรื่องของไทยในอดีต 
เรื่องของชนชาติไทย
ภูมิศาสตร์ของไทย 
ก่อนสมัยสุโขทัย 
กรุงสุโขทัย
กรุงศรีอยุธยา
กรุงเทพมหานคร
นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่
อุทยานประวัติศาสตร์
เมืองเก่าของไทย
ทำเนียบหัวเมือง
การทหารของไทย
ธงชัยเฉลิมพล
ทหารรักษาพระองค์
ทหารอาสาต่างชาติ 
รู้เรื่องเมืองสยาม 
ประเทศเพื่อนบ้านของไทย()
ความสัมพันธ์ไทย-อเมริกัน 
เหตุการณ์ปี ร.ศ.๑๑๒
เหตุการณ์ปี ๒๔๗๕
กรณีพิพาทอินโดจีน
การรบที่กาะช้าง
สงครามมหาเอเซียบูรพา
สงครามเกาหลี 
สงครามเวียตนาม 
กรณีปราสาทพระวิหาร
กรณีโรฮิงยา
ความไม่สงบชายแดนภาคใต้
อนุสาวรีย์วีรชน 
สารานุกรมฉบับย่อ()
ตัวหนังสือไทย
เรียนหนังสือไทยสมัยก่อน 
รามเกียรติ์ 
ขุนช้าง ขุนแผน
พระอภัยมณี
นิราศ
กาพย์เห่เรือ
สุภาษิตไทย
ธรรมเนียมประเพณีไทย 
โหราศาสตร์ไทย 
เพลงไทยให้สาระ
เงินตราไทย
เครื่องดนตรีไทย
หมากรุกไทย
มวยไทย
สมุนไพรไทย
พันธุ์ไม้ดอกไทย
นกในประเทศไทย
อุทยานแห่งชาติ
 
ทางบก
 ทางทะเล
เที่ยวทั่วไทย 
เที่ยวไปชมไป

 ศาสนา                                     

การบริหารคณะสงฆ์
การศึกษาพระปริยัติธรรม
กฎหมายพระสงฆ์ของไทย
สมเด็จพระสังฆราช
ทำเนียบสมณศักดิ์
พัดยศสมณศักดิ์
คณะสงฆ์จีนนิกาย
คณะสงฆ์อนัมนิกาย
พระพุทธรูปสมัยต่างๆ
พระพุทธรูปสำคัญ
พระพุทธรูปปางต่างๆ
พระพุทธรูปประจำวัน
พระธาตุเจดีย์
พระพุทธบาท
พระแท่น
พระไตรปิฎก
การแสดงธรรมของพระพุทธเจ้า
การบัญญัติพระวินัย
โสพัสปัญหา
พุทธประวัติ
พระอสีติมหาสาวก
พุทธศาสนสุภาษิต
พุทธานุวัตร
วันสำคัญในพระพุทธศาสนา
พุทธศาสนพิธี
พระป่าและวัดป่า
พุทธศาสนาในปัจจุบัน
ภัยแห่งพุทธศาสนา
ศาสนาต่างๆในไทย)

  พระมหากษัตริย์                      

พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัย
พระมหากษัตริย์กรุงศรีอยุธยา
พระมหากษัตริย์สมัยธนบุรี
พระบรมราชจักรีวงศ์
พระชัยวัฒน์ประจำรัชกาล
พระราชลัญจกร
เครื่องราชกกุธภัณฑ์
ธงในองค์พระมหากษัตริย์
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก
น้ำอภิเษก
พระราชพิธีสิบสองเดือน
พระราชานุกิจ
จอมทัพไทย
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
เหรียญอันเนื่องจากการรบ
พระบรมมหาราชวัง
ประชุมพงศาวดาร
ราชการสงครามฯ
งานกู้ชาติฯ
ประชุมพระราชปุจฉา
พระราชหัตถเลขา ใน ร.๔
พระบรมราโชบายฯ ร.๕
พระราชดำรัส ใน ร.๕
พระราชนิพนธ์ ใน ร.๖
ร.๖ กับการป้องกันประเทศ
พระราชดำริใน ร.๗
พระบรมราโชวาท

 มุมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทย์และเทคโน
ศูนย์เทคโนอีเลคทรอนิกส์และคอมแห่งชาติ
เว็บการเรียนรู้วิทย์และเทคโนร.ร.ในชนบท
ดาราศาสตร์สำหรับคนไทย
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีแห่งชาติ
แหล่งความรู้วิศวโยธา,เครื่องกลและขนส่ง
โครงการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ[lesa]
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนแห่งไทย
องค์การพิพธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
ดูดาวดอทคอม
รวมบทความด้านวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
นิยายวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์น่ารู้

 

 มุมศาสนาต่างๆ                      

สำนักข่าวชาวพุทธ
มุสลิมไทยไซเบอร์เน็ต
หนังสือธรรมะออนไลน์
ธรรมะไทย
มุสลิมแคมปัสดอทคอม
โบสถ์คริสเตียนไทยอเมริกา
กัลยาณมิตร
เสขิยธรรม
มหาวิทยาลัยสงฆ์ไทย
อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ
หลวงตามหาบัว
พุทธทาสศึกษา
พระรัตนตรัย
เครือข่ายสาระธรรมอิสลาม
มูลนิธิศุภนิมิตไทย
พระคริสตธรรมไทย

 10 อันดับเว็บข้อมูล อ้างอิง        

 www.google.co.th สุดยอดเว็บในการหาข้อมูล
 
www.glo.or.th สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล
 
www.siamguru.com บริการค้นหาข้อมูลต่างๆ
 
www.truehits.net เว็บแสดงสถิติการเยี่ยมชม
 
lexitron.nectec.or.th ดิกชันนารีออนไลน์
 
www.yellowpages.co.th สมุดหน้าเหลืองออนไลน์
 
www.police.go.th สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
 
phonebook.tot.or.th ค้นหาหมายเลขโทรศัพท์
 
www.trainingthai.com ข่าว,ข้อมูลการฝึกอบรมสัมมนาต่างๆ
 
www.khonthai.com แหล่งข้อมูลด้านทะเบียนราษฎร์ต่างๆ



“นครธม” มหานครแห่งปราสาท article

 


 


ซุ้มประตูเมืองนครธมมีเอกลักษณ์อันโดดเด่นด้วย
รูปสลักพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร 4 ด้าน

“พระเจ้าชัยวรมันที่ 7”
หากเอ่ยถึงชื่อนี้ “ผู้จัดการท่องเที่ยว”เชื่อว่าหลายๆคนคงจะเคยได้ยินชื่อนี้มาบ้างไม่มากก็น้อย แม้ว่าจะไม่เคย เรียนเรื่องราวของประวัติศาสตร์ขอมมาก็ตามที

พระเจ้าพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 (พ.ศ. 1724-1762) นับเป็นกษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดแห่งอาณาจักร “พระนคร” (พ.ศ.1333-1974) และถือเป็นมหาบุรุษที่คนเขมรนับจากอดีตถึงปัจจุบันให้ความเคารพยกย่องมากที่สุด เรื่องนี้“สูน เพียบ”ไกด์ชาวเขมรที่พาเราทัวร์เสียมเรียบยืนยันมาจากปากของเขาเอง

พูดถึงอดีตอันยิ่งใหญ่ของพระเจ้าพระเจ้าชัยวรมันที่ 7นั้นมีมากมายหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านการรบ การปกครอง การพัฒนาประเทศ แต่สิ่งที่ชาวโลกยกย่องเป็นพิเศษเกี่ยวกับความยิ่งใหญ่และความน่าทึ่งของกษัตริย์องค์นี้ก็คือ การสร้าง “นครธม” หรือ “Angkor Thom” (ธมแปลว่าใหญ่) เมืองหลวงแห่งอาณาจักรพระนคร ซึ่งถือว่าเป็นยุครุ่งเรืองสูงสุดของอาณาจักรขอม เพราะหลังจากหมดยุคพระเจ้าชัยวรมันที่ 7อาณาจักรพระนครก็เสื่อมลงตามลำดับ

และด้วยความที่นครธมสร้างหลังเกิดอาณาจักรพระนครมาได้ 300 ปี และเป็นการสร้างเมืองใหม่ขึ้นทับเขตเมืองเก่า คือ “ยโศธรปุระ”จึงทำให้มีปราสาทขอมทั้งในยุคนครธมและยุคก่อนนครธมกระจัดกระจายอยู่ทั่วไป และปราสาทเหล่านั้นก็เป็นจุดท่องเที่ยวสำคัญในนครธม ที่ในแต่ละวันอุ่นหนาฝาคั่งไปด้วยเหล่านักท่องเที่ยวจากทั่วทุกสารทิศ

สำหรับการเดินทางเข้าสู่นครธมนั้น อย่าละเลยการหยุดดูรวมถึงหยุดถ่ายรูปกับสะพานหินที่ทอดยาว ผ่านคูน้ำเข้าสู่กำแพงและซุ้มประตูเมืองนครธม ที่บนราวสะพานทั้ง 2 ฝั่ง สร้างเป็นเรื่องราวของการกวนเกษียรสมุทรระหว่างเทวดากับอสูร ซึ่งทั้ง 2 ฝ่ายต่างก็ดึงยุคนาคกันข้างละ 54 องค์และตน ส่วนจะดูว่าฝั่งไหนเป็นเทวดาหรือฝั่งไหนเป็นอสูร ก็ดูง่ายที่หน้าตา ฝั่งไหนหน้าตายิ้มแย้มก็คือเทวดา ส่วนฝั่งไหนหน้าตาดูดันบึ้งตึงก็เป็นอสูร
พูดถึงเรื่องราวระหว่างเทวดากับอสูรนี้ หากมองเผินๆ เทวดาอาจเปรียบดังพระเอกที่ดูดีแถมหน้าตาดี ส่วนอสูรก็เป็นผู้ร้ายที่โหดเหี้ยมหน้าตาดูร้าย ซึ่งหากใครทราบถึงเรื่องราวของการกวนเกษียรสมุทรแล้วละก็จะรู้ว่า เทวดานั้นแสบและขี้โกงกว่าอสูรเป็นไหนๆ แต่ถึงกระนั้นก็พยายามรักษาภาพลักษณ์ไว้ว่าเป็นผู้ดำรงไว้ซึ่งความดี คล้ายๆกับหนักการเมืองบ้านเราบางคนที่สร้างภาพเป็นคนดูดี มีการศึกษา แต่จริงๆแล้วเป็นพวกมือถือสากปากคาบคัมภีร์เอาดีใส่ตัวเอาชั่วให้คนอื่น (เรื่องการกวนเกษียรสมุทร“ผู้จัดการท่องเที่ยว” จะขอยกไปเล่าตอนที่เดินดูภาพสลักผนังในนครวัด)


แม้ว่าชานชาลาปราสาทบาปวนจะค่อนข้างยาว
แต่ว่าก็มีนักท่องเที่ยวจำนวนไม่น้อยนิยมขึ้นไปเดินทอดน่องบนนั้น

เอาหละ!?! เมื่อผ่านสะพานเข้าสู่ประตูเมือง ก็อย่าลืมแหงนหน้าดูด้านบนของซุ้มประต ูที่สร้างเป็นรูปสลักพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร 4 ด้าน (บางคนว่านี่คือพระพักตร์ของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7)

ครั้นพอผ่านซุ้มประตูเข้าสู่นครธมก็จะเห็นปราสาทและสถาปัตยกรรมขอมอยู่ทั่วไป ซึ่งใครใคร่เดินชมสถาปัตยกรรมชิ้นไหนก็ตามแต่สะดวก

แต่ถ้าเป็นเส้นทางยอดนิยมก็ต้องเริ่มจากการไปชม“ปราสาทบันทายศรี”ในช่วงเช้า(เสนอไปในตอนที่แล้วชื่อ “ปราสาทบันทายศรี”Small is Beautiful) จากนั้นก็จะเป็นการเดินทางเข้าสู่นครธมทางประตูทิศใต้ โดยก่อนถึงนครธมก็จะเห็นกำแพงของ“นครวัด”ตั้งตระหง่านอยู่ทางขวามือ ซึ่งนับว่าเป็นการนวดอารมณ์ของนักท่องเที่ยวให้เพิ่มดีกรีความเร้าใจในการชมปราสาทขอมได้ชะงัดนัก เพราะเมื่อเข้ามาชมสถาปัตยกรรมและชมไฮไลท์ของปราสาทในนครธมแล้ว ไกด์ส่วนมากก็จะพาสู่นครวัด 1 ใน 7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลก ที่ถือว่าเป็นสุดยอดของปราสาทขอม

แต่ว่าก่อนที่จะไปนครวัด “ผู้จัดการท่องเที่ยว” ขอเบิ่งตาชมสถาปัตยกรรมขอมในนครธมก่อน จุดแรกที่สูน เพียบพาไปชมก็คือ“สนามหลวง” หรือ “สนามหน้าหน้าจักรวรรดิ” ซึ่งมี “ลานช้าง” และ “ลานพระเจ้าขี้เรื้อน” อยู่ใกล้ๆกัน

สิ่งก่อสร้างทั้ง 2 แห่งเชื่อว่าสร้างในสมัยพระเจ้าพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ปัจจุบันเหลือแค่ฐานพลับพลาของลานเสด็จพระราชดำเนินในอดีต เป็นลานโล่งๆที่สามารถเดินขึ้นไปกินลมชมวิวได้

สำหรับลานช้างนั้นค่อนข้างเดาง่ายเพราะว่ามีรูปแกะสลักช้างตรงฐาน เต็มไปหมด ส่วนลานพระเจ้าขี้เรื้อนนี่สิดูยากหน่อย ต้องเดินชมกันแบบใกล้ๆถึงจะเห็นถึงที่มาของชื่อลานพระขี้เรื้อน โดยช่วงแรกของฐานลานพระเจ้าก็เป็นรูปแกะสลักเทพและนางอัปสราธรรมดาๆ แต่ว่าพอเดินตามซอกเข้าไปเรื่อยๆ รูปนางอัปสราชักเปลี๊ยนไป๋ คือเป็นนางอัปสราที่มีริ้วรอยตะปุ่มตะป่ำเต็มตัวและหน้าตา

สูน เพียบได้เล่าว่าในยุคพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 มีโรคเรื้อนระบาด พวกช่างจึงได้สลักรูปพวกนางอัปสราที่เป็นโรคเรื้อนเอาไว ้เป็นดังบันทึกหน้าหนึ่งของประวัติศาสตร์ ซึ่ง“ผู้จัดการท่องเที่ยว”ก็ไม่รู้ว่ามีช่างคนไหนแอบสลักหน้าของภรรยาตัวเอง เอาไว้บ้างหรือเปล่า

พ้นจากรูปสลักที่ลานพระเจ้าขี้เรื้อน สูน เพียบพาเดินขึ้นไปบนลานช้างแล้วปล่อยให้เรายืนกินลมชมวิวชั่วขณะ ซึ่งหากมองไปยังฝั่งตรงข้ามของลานหญ้าก็จะเห็นปราสาทเล็กๆ 12 หลังตั้งกระจายอยู่


เมื่อเดินเข้าเขตพระราชวังปราสาทพิมานอากาศ
ถือเป็นปราสาทแรกเราจะได้พบเห็น

“ปราสาท 12 หลังเรียกว่า ปราสาทสุออร์ปรัต ที่สร้างไว้เพื่อให้นางสนมมานั่งเฝ้ากษัตริย์เขมร บางคนก็เรียกปราสาทพวกนี้ว่าปราสาทนาง 12 “

สูน เพียบ ชี้แจงข้อสงสัยเมื่อเห็นเรามองปราสาทเหล่านั้นด้วยความฉงน ก่อนที่จะก็พาเดินไปตามลานหินเข้าสู่ซุ้มประตูเขตพระบรมมหาราชวัง ที่ในปัจจุบันไม่มีพระราชวังให้เห็นเนื่องจากทำด้วยไม้จึงผุพังไปตามกาลเวลา แต่ว่าในบริเวณราชวังก็ยังมี“ปราสาทพิมานอากาศ”ตั้งโดดเด่นอยู่เบื้องหน้าหลังจากเดินเข้าไป

ปราสาทพิมานอากาศ สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1(พ.ศ.1546-1593) เป็นปราสาทขนาดย่อม ซ้อนชั้นไป 3 ระดับ และใช้เป็นที่ประทับของกษัตริย์ขอมมาโดยตลอด ซึ่งในนิทานปรัมปราเชื่อว่าปราสาทพิมานอากาศเป็นที่ให้กษัตริย์ขอมมาหลับนอนกับนาคตัวเมีย ที่แปลงร่างมาเป็นผู้หญิง (คนขอมโบราณเชื่อว่าพญานาคคือผู้ให้กำเนิดอาณาจักรขอม) ก่อนที่จะไปนอนกับพระมเหสีหรือนางสนม และหากไม่ทำตามก็จะต้องตาย

เรื่องนี้ฟังเอาสนุกก็น่าสนใจไม่น้อย ส่วนจะจริง-เท็จยังไง “ผู้จัดการท่องเที่ยว”ไม่รู้ แต่ที่รู้ก็คือเมื่อชมปราสาทพิมานอากาศแล้วก็ไม่ควรพลาดด้วยประการทั้งปวงต่อการเดินไปชม “ปราสาทบาปวน” ที่อยู่ใกล้ๆกัน


ลานช้างดูง่ายเดาง่ายเพราะมีรูปช้างสลักอยู่

ปราสาทบาปวนมีสันนิษฐานว่าสร้างในสมัยพระเจ้าอุทิตยวรมันที่ 2 (พ.ศ.1593-1609)ในปีพ.ศ.1060 ซึ่งมีสิ่งที่น่าสนใจหลายอย่างเอากันตั้งแต่รูปทรงที่ดูเหมือนปิรามิดซ้อนระดับขึ้นไปสูงใหญ่ นอกจากนี้ก็ยังมีสะพานทางเดินสู่ปราสาทที่ 2 ฟากมีน้ำล้อมรอบ ที่มีนักท่องเที่ยวหลายๆคนนิยมไปเดินนวยนาดบนนั้น โดยอาจจะลืมตัวคิดว่านี่คือแคทวอร์คขนาดใหญ่ก็ได้ ส่วนเสาของชานชาลาถ้าใครเดินจากปราสาทพิมานอากาศไปก็จะได้เห็นกับเสากลมที่สร้างได้อย่างสมส่วนรับชานชาลาที่ทอดยาวไปเกือบ 200 เมตร

แต่น่าเสียดายที่ปราสาทบาปวนนักท่องเที่ยวส่วนมากมักจะมองข้ามไปไม่ค่อยแวะชมทั้งๆที่เป็นปราสาทที่มีความเก่าแก่กว่านครวัด นครธมเสียอีก

เหตุผลหนึ่งคงเป็นเพราะปราสาทบาปวนช่วงนี้ไม่สามารถเดินชมได้อย่างเต็มที่เนื่องจากว่าอยู่ในช่วงการบูรณะ(คาดว่าอีก 2-3 ปี คงแล้วเสร็จ) ส่วนอีกเหตุผลหนึ่งก็เป็นไปได้ว่านักท่องเที่ยวส่วนมากรีบเร่งที่จะไปดู “ปราสาทบายน” ไฮไลท์ของนครธม ซึ่งจะมีความยิ่งใหญ่และน่าทึ่งขนาดไหนคงต้องติดตามในตอนต่อไป

นครธม เป็นเมืองโบราณ ปัจจุบันอยู่ในจังหวัดเสียมเรียบ ประเทศกัมพูชา สันนิษฐานว่าสร้างพร้อมๆกับการขึ้นครองราชย์ของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 พ.ศ. 1724 และมีการสร้างเติมแต่งบ้างภายหลังโดยกษัตริย์องค์ต่อๆมา มีความยาวของกำแพงโดยรอบประมาณ 12 กม. กำแพงแต่ละด้านยาวข้างละ 3 กม. รวมพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 9 ตารางกม.

นครธม มีประตูทางเข้า 5 ประตูจาก 4 ทิศ (เหนือ ใต้ ตะวันออก ตะวันตก) โดยด้านตะวันออกมี 2 ประตู คือประตูตะวันออกและประตูชัย

“ยโศธรปุระ” เป็นเมืองหลวงยุคที่ 2 ของอาณาจักรพระนคร (เมืองหลวงยุคแรกคือ “หริหราลัย” มีภูเขาพนมกุเลนเป็นศูนย์กลาง” สร้างขึ้นในสมัยยโศวรมันที่ 1 (ครองราชย์ พ.ศ. 1432-1453) มีภูเขาพนมบาเค็งเป็นศูนย์กลาง

ส่วนจังหวัดเสียมเรียบ หรือ เสียมราฐ นั้นถือเป็นจังหวัดเดียวกัน โดยราชการไทยจำนวนหนึ่งนิยมให้เรียกเสียมราฐ ซึ่งความนี้มีที่มาที่ไป แต่ “ผู้จัดการท่องเที่ยว” จะไม่ขอกล่าวถึง เนื่องจากเป็นเรื่องของอดีตที่ผ่านมา ส่วนชื่อเสียมเรียบนั้นเป็นชื่อสากลที่คนใช้เรียกกัน

ทั้งนี้ผู้ที่ไปเที่ยวชมปราสาทขอมต่างๆในเมืองเสียมเรียบ หากต้องการได้อรรถรสมากขึ้นควรหาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ที่น่าสนใจก็มี นิราศนครวัด:สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ, ตำนานแห่งนครวัด:จิตร ภูมิศักดิ์(หนังสือเล่มนี้จะพูดถึงพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ในแง่มุมที่แตกต่างออกไป), เมืองพระนคร-นครวัดนครธม : ยอร์ช เซเดส์ แปลโดย ปราณี วงษ์เทศ, นครวัดนครธม ชายชรากับบ่วงกรรมและคำสาป : ธีรภาพ โลหิตกุล, เที่ยวเขมร : วีระ ธีรภัทร

และการจะเที่ยวชมปราสาทขอมให้สนุก ไม่ควรที่จะนำเรื่องราวในอดีตมาผสมรวมกับเรื่องราวในปัจจุบัน

สำหรับการเที่ยวชมปราสาทขอมในเขมรนั้นจะเสียค่าเที่ยวชม 20 เหรียญสหรัฐ(ประมาณ 1 พันบาท) ต่อวัน(เที่ยวได้ทุกปราสาทและทุกโบราณสถานในเสียมเรียบ)ส่วนถ้าอยากเที่ยวนานซื้อตั๋ว 3 วัน เสีย 40 เหรียญ ส่วนค่าวีซ่าเข้าเขมรก็อยู่ที่ 20 เหรียญเช่นกัน

โดย   ผู้จัดการออนไลน์




ยินดีต้อนรับสู่เว็บแว่นทิพย์

เว็บดูดวง ตั้งชื่อ เปลี่ยนนามสกุล!! article
. article
Hope to see u again kha..bye article
"ศิริราช" เจ๋งผ่ามะเร็งไม่ต้องตัดเต้า ทีมแพทย์เผยเป็นแห่งที่ 2 ในเอเชีย article
21 เคล็ดลับความสาว article
โยคะเพื่อชีวิต article
Welcome to foreigners article
นวดกายคลายโรค article
จูบใครคิดว่าไม่สำคัญ article
Sex ประตูหลัง สุขสุดๆ หรือเสี่ยงสลด ! article
ศิลปะง่ายๆ ที่ใช้ได้ดีในการออกเดท...ครั้งแรก article
ตามล่าหาเหตุแห่ง “ชู้” ทำไมภรรยาถึงต้องนอกใจสามี? article
เซ็กส์กับคนอ้วน article
ทำงานหนัก “เซ็กซ์เสื่อม”? article
การตรวจเต้านมด้วยตนเอง article
การดูแลหลังคลอดแบบแผนไทย article
“นิทาน” เครื่องมือทรงพลังเพื่อสร้าง IQ และ EQ เด็กไทย article
นวดสัมผัสบำบัดให้ลูกน้อย article
ร่วมรัก.. ที่เจ็บจริงๆ นะคุณ article
สปีชี่ส์ ของคน “โสด” article
ชอบ รัก หลง แตกต่างกันอย่างไร? article
คนใกล้ใจจาก ก - ฮ article
Leaving on a jet plane เวอร์ชั่นภาษาไทย article
Sailing By Rod Stewart เวอร์ชั่นภาษาไทย article
สวย สบาย ด้วยสปาแบบไทยๆ article
อะไร? คือ ความรัก article
ดื่มน้ำรักษาโรค article
"โยกิลาทิส" เทรนด์ใหม่วัยใส article
"หนึ่งมื้อกินเจ หมื่นชีวิตรอดตาย"อานิสงส์ของการกินเจ ภาค 2 article
"หนึ่งมื้อกินเจ หมื่นชีวิตรอดตาย"อานิสงส์ของการกินเจ ภาค 1 article
พิสูจน์มหัศจรรย์นวดตัวเอง 14 กระบวนท่า article
28 กลเม็ดเพื่อเซ็กซ์สุดสนุก article
นวดบำบัด ปวดหัว ปวดคอ ปวดไหล่ article
นวดกดจุด ดัดตน คลายเครียดด้วยตนเอง article
มาเจริญสติเพื่อเลิกบุหรี่กันเถอะ article
เพิ่มพลังชีวิตด้วย "โยคะ" article
กามสูตร ศิลปะแห่งความรัก ภาคฝรั่ง 2 article
กามสูตร ศิลปะแห่งความรัก ภาคฝรั่ง 1 article
มหัศจรรย์ "พลังหินบำบัด" article
น้ำตกตาดฟ้า article
เที่ยวภูเก็ต สบายใจ ดำผุดดำว่ายที่เกาะพีพี article
ชวนชม ชวนชิม ของเด็ดขึ้นชื่อ “เมืองเพชรบุรี” article
ไปเมือง“นนท์” ค้นหาที่น่าเที่ยว เก็บเกี่ยวความทรงจำ article
“หนองคาย” เมืองสงบเรียบง่ายริมฝั่งโขง article
เติมพลังให้ชีวิต...ที่เกาะมันนอก article
ระนอง เมืองที่ไม่มีเค้าฝน article
อุทยานนกน้ำทะเลน้อย article
เที่ยวแหล่งน้ำแร่ร้อน ผ่อนคลายแบบสปา article
โมโกจู article
สีสันวันเปิดภูกระดึง article
ที่สุดแห่งข้าวสาร article



Copyright © 2010 All Rights Reserved.